Abstract
The purpose of this research was to develop Thai performing arts costume subject for undergraduate students. Using a purposive sampling method, the participants of this study were specialists or artists who expertise in creating Thai performing arts costumes, creating Thai performing arts costume teachers and Thai performing arts undergraduates. The data were gathered by using an in-depth interview and expectation questionnaires and analyzed by the mean and standard deviation.The research findings were shown as follows: 1) the conclusion from the expectationquestionnaires in undergraduate students suggested that there should be other knowledge integration to improve skills in creative conservation (M = 5.00) and learners like to perform actual work and apply knowledge to build their career (M = 4.98); 2) based on the interviewof experts and specialists in Thai performing arts costume, they suggested 6 aspects to develop the subject including: (1) teaching objectives, (2) contents, (3) instructional activities,(4) teaching methods, (5) evaluation, and (6) references that focused on the learning processto raise the learner appreciation and allow them to use it in their career path.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทยสำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จาการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญหรือศิลปินในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทยและผู้เชี่ยวชาญในการสอนการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทย และนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามความคาดหวัง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า 1) นักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิตมีความคาดหวังเกี่ยวกับรายวิชาว่าควรแทรกความรู้ในด้านอื่นเพื่อพัฒนาฝีมือสู่การสร้างสรรค์ในเชิงอนุรักษ์ (M = 5.00) รองลงมาคือชอบการลงมือปฏิบัติงานจริงและนำความรู้หลังการเรียนไปต่อยอดสร้างอาชีพได้ (M = 4.98 ) 2) ผู้เชี่ยวชาญหรือศิลปินในการสร้างสรรค์เครื่องแต่งกายละครไทยและผู้เชี่ยวชาญในการสอน ให้คำแนะนำการพัฒนารายวิชาในองค์ประกอบ 6 ด้าน ได้แก่ 1) จุดมุ่งหมายการสอน 2) เนื้อหาสาระ 3) กิจกรรมการเรียนการสอน 4) วิธีการสอน 5) การประเมินผล และ 6) แหล่งอ้างอิง ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า เพื่อให้ผู้เรียนสามารถุนำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
90
Last Page
105
Recommended Citation
Kreanprasert, Chatchai and Phrompan, Intira
(2020)
"Development of Thai Performing Arts Costume Subject for Undergraduate Students of Thai Performing Arts(การพัฒนารายวิชาเครื่องแต่งกายละครไทย สำหรับนักศึกษานาฏศิลป์ระดับปริญญาบัณฑิต),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
3, Article 6.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss3/6