Abstract
The purposes of this study were 1) to develop a circuit training activity set promotingphysical fitness and 2) to examine the efficacy of the activity set promoting physical fitness for 25 Chulalongkorn University students. They were divided into 2 groups which are a controlgroup and an experimental group. The control group received the normal lesson plans. The experimental group received developed activities of the physical fitness promotion lessons for 8 weeks. Their scores of the 5 health-related physical fitness components test were compared before and after the experiment. The researcher developed the circuit training activity set for physical fitness promotion and applied the health-related physical fitness test. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test.The study found that 1) the Index of Item-Objective Congruence of the circuit training activity set promoting physical fitness consisting of flexibility enhancing activities, muscular strengthening activities, muscular endurance strengthening activities and the cardiovascular endurance promoting activities at 1.00 level of significance.. 2) the mean scores of the physical fitness of the experimental group consisting of sit-ups for 60 seconds,push-ups for 30 seconds, sit and reach and distance running after studying exercises were significantly higher than before studying at a .05 level of significance, except for the body mass index.; and 3) the mean scores of the physical fitness of the experimental group after doing all exercises, except for the body mass index were significantly higher than that of the control group at a .05 level of significance.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างชุดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี และ 2) ศึกษาผลของการใช้ชุดกิจกรรมดังกล่าวต่อนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 25 คน ตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น2 กลุ่ม กลุ่มควบคุมได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบปกติ และกลุ่มทดลองได้รับชุดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานีที่สร้างขึ้นเป็นเวลา 8 สัปดาห์ เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ 5 รายการ ก่อนและหลังการทดลอง โดยผู้วิจัยพัฒนาชุดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี และใช้แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนทีผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายแบบสถานี ประกอบด้วย กิจกรรมเสริมสร้างความอ่อนตัว กิจกรรมเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กิจกรรมเสริมสร้างความอดทนของกล้ามเนื้อ และกิจกรรมเสริมสร้างความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการลุก-นั่ง 60 วินาทีดันพื้น 30 วินาที นั่งงอตัวไปข้างหน้าและวิ่งระยะไกลของกลุ่มทดลอง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย และ 3) ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบสมรรถภาพทางกายหลังการทดลองทุกรายการ ยกเว้นค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
41
Last Page
59
Recommended Citation
Intharachai, Kriangkrai and Thiabthong, Bundit
(2020)
"Effects of Using the Circuit Training Activity Set to Promote Physical Fitness for the Undergraduates in Physical Education Activity Course(ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการฝึกแบบสถานีเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนิสิตในรายวิชากิจกรรมพลศึกษาสำหรับครู),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
3, Article 3.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss3/3