Abstract
The objective of this study was to investigate school management in Thailand based on career-related programme concepts. The school selected for this study was an international school which applies career-related programme concepts. Interviews were conducted with three key informants, namely, which are two school administrators and one curriculum coordinator. The qualitative data were analyzed using analytic induction. The research findings reveal three key points. First, curriculum development has three aspects; they are common subjects, core-career subjects (personal and professional skills, service learning, language development, reflective project), and training-careerselective subjects, which involves teaching in the two final years of secondary school. Second, teaching and learning management is identified as an academic area, but students can choose either theory or practice, which provides the opportunity to work with an outsourced organization, participating in teaching and providing a unit lesson. The school supports training in cooperation with companies or entrepreneurs by managing the internal teaching process and external evaluations. Third, learning evaluation extends to both the school and the external organization and involves the International Baccalaureate (IB) studies and outsourcing for career selective subjects. Students need to pass three parts of the evaluation in order to receive a Career-related Programme Certificate from the IB organization.(การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารโรงเรียนที่ใช้หลักสูตรการศึกษาเชื่อมโยงสู่อาชีพโดยศึกษาจากโรงเรียนนานาชาติที่ใช้หลักสูตรนี้ขององค์กรไอบีในประเทศไทย 1 โรง ผู้ให้ข้อมูล จำนวน3 คน ได้แก่ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ และผู้ประสานงานหลักสูตร เครื่องมือวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตร มี 3 ส่วน ได้แก่ วิชาสามัญ วิชาหลักด้านอาชีพ (ทักษะเฉพาะบุคคล/ ทักษะวิชาชีพ การเรียนรู้การให้บริการ การพัฒนาทางภาษา โครงงานสะท้อนคิด)และการฝึกงานวิชาเลือกด้านอาชีพ เป็นการเรียนสองปีสุดท้ายในระดับมัธยม 2) ด้านการจัดการเรียนการสอน เน้นวิชาการแต่นักเรียนสามารถเลือกวิชาการหรือปฏิบัติก็ได้ สำหรับวิชาเลือกด้านอาชีพจะมีหน่วยงานภายนอกเข้ามาร่วมด้วย โรงเรียนสนับสนุนการฝึกงานโดยประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือองค์กร เป็นลักษณะการสอนภายในโรงเรียนและมีการสอบจากภายนอก และ 3) ด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ เป็นการประเมินจากโรงเรียนและมีการสอบภายนอก จากองค์กรไอบีและหน่วยงานต้นสังกัดที่สอนวิชาเลือกด้านอาชีพ โดยนักเรียนต้องผ่านการประเมินทั้งสามส่วนจึงจะได้รับใบประกาศนียบัตร)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
296
Last Page
315
Recommended Citation
Chanruam, Rattana; Xupravati, Penvara; and Siribanpitak, Pruet
(2020)
"School Management in Thailand based on Career-related Programme Concepts(การบริหารโรงเรียนที่ใช้หลักสูตรการศึกษาเชื่อมโยงสู่อาชีพในบริบทไทย),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
3, Article 18.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss3/18