•  
  •  
 

Abstract

One Tambon One Product (OTOP) came from blend local knowledge with their resources in each community of Thailand to produce products which have more value. The concept of insert symbolic into local products also called as value added process. This research have objectives to study symbolic meaning through Habitus, analyze related factors and Conditions, and proposed learning-space model for developing significance of symbols in cultural products, OTOP. Collecting qualitative data and quantitative data from producer and/or entrepreneur, consumers, and involved persons. The results found that: 1) producer and/or entrepreneur give significance to OTOP as a symbolic relations same as consumers; 2) factors that related to symbolic significance are economic capital, social capital, cultural capital and symbolic capital. Related conditionsare producer?s inspirations and love in the profession; and 3) Learning-space model for developing significance of symbols in cultural products start from ?Habitus? add with 4 kind of capitals and become in production process which can divided OTOP producer into 3 groups as Basic-Developed OTOP, Stable-Developed OTOP, and International-Developed OTOP. All producers sent their ?Symbolic Code? through next generations as Habitus.(สินค้าโอทอปเกิดจากการผสมผสานภูมิปัญญาจากวิถีชุมชนเข้ากับทรัพยากรที่มีในแต่ละท้องถิ่นเกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจที่กล่าวได้ว่า เป็นรูปแบบหนึ่งในการใส่ความหมายเชิงสัญญะสู่สินค้างานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการให้ความหมายเชิงสัญญะในสินค้าโอทอปผ่านแนวคิดฮาบิทัส2) วิเคราะห์ปัจจัยและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง และ 3) นำเสนอรูปแบบพื้นที่เรียนรู้เพื่อพัฒนาการให้ความหมายเชิงสัญญะในผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีแนวคิดในการให้ความหมายเชิงสัญญะในสินค้าโอทอปตรงกัน โดยการให้ความสำคัญสูงสุดด้านการสืบสานเอกลักษณ์วัฒนธรรม และการช่วยเหลือชุมชนผ่านการสนับสนุนสินค้า 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดสัญญะในผลิตภัณฑ์โอทอปเกิดจากทุนทางเศรษฐกิจทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และทุนสัญลักษณ์ เงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แรงบันดาลใจ และความรักในอาชีพ 3) รูปแบบพื้นที่เรียนรู้เพื่อพัฒนาการให้ความหมายเชิงสัญญะในผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมมีจุดเริ่มต้นมาจาก ?ฮาบิทัส?(Habitus) และปัจจัยจากทุน 4 ด้าน ที่สามารถแบ่งผู้ผลิตได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มโอทอปพัฒนาขั้นต้น กลุ่มโอทอปกำลังพัฒนา และกลุ่มโอทอปพัฒนาสู่สากล โดยทั้ง 3 กลุ่มมีการแสดงออกถึงรหัสของสัญญะ (symbolic code) ผ่านการสืบทอดฮาบิทัสสู่รุ่นต่อไป)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

164

Last Page

183

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.