•  
  •  
 

Abstract

The purpose of this research was to compare learning achievement and attitude towards biology among 11th-grade students using the 7E Learning Cycle Model and 7E Learning Cycle Model with cooperative learning technique, STAD. The samples were 2 classes of 11th-grade students from a school in Chonburi province who were selected using Cluster Random Sampling. The research instruments were a Biology Learning Achievement Test and an Attitude towards Biology Questionnaire. The data were analyzed by 1) comparing the post-test mean scores of Learning Achievement regarding Nervous system and Sensory organs among students in both groups against the 70 percent criterion for success by using one sample t-test, and 2) comparing the post-test mean scores regarding Learning Achievement and Attitude towards Biology among students of both groups by using independent samples t-tests.The research findings showed that 1) The post-test mean scores of LearningAchievement of students in both groups were higher than the 70 percent criterion at the statistically significant .01 level. 2) The post-test mean scores of Learning Achievement and Attitude towards Biology among students in the class assessed using 7E Learning Cycle Model with cooperative learning technique, STAD, were higher than that of students in the class using 7E Learning Cycle Model at the statistically significant .01 level.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น กับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัดเจตคติต่อวิชาชีววิทยา วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อวิชาชีววิทยาหลังเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาหลังเรียน ของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

111

Last Page

128

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.