•  
  •  
 

Abstract

This mixed method research aims to propose a learning process using cognitive tools in an infographic design approach to improve visual literacy of undergraduate Art Education students. The study was divided into three phases: 1) surveying opinions of 26 Art Education instructors who were selected by a purposive sampling method, 2) surveying opinions of 172 Art Education students who were selected by a multi-stage sampling method, and 3) studying the infographic design approach from related documents and interviewing five experienced infographic designers who have taught in higher education. These infographic designers were selected by a purposive sampling method. The research instruments were a questionnaire and semi-structured interview form. The results revealed that most instructors and students thought Infographics could be used to improve visual literacy. However, more than half of them had no experience with infographics. Based on the result of literature review, the process of teaching infographic design consists of two steps: learner preparation before design, and creating the infographic. Three activities for learner preparation before the design step are 1) review the Visual Communication theory, 2) practice analysis and interpretation of images or visual media, and 3) compare and evaluate infographic works. The four activities comprising the other step are 1) researching and brainstorming, 2) design, 3) review and revision, and 4) publishing.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกระบวนการเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือทางปัญญาด้วยวิธีออกแบบอินโฟกราฟฟิกเพื่อพัฒนาการรู้ทางทัศนะสำหรับนักศึกษาศิลปศึกษา เป็นการวิจัยแบบผสมผสานโดยมีการดำเนินงาน 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาศิลปศึกษา จำนวน 26 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง 2) สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศึกษา ชั้นปีที่ 4 จำนวน 172 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น และ 3) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์นักออกแบบอินโฟกราฟฟิกอาชีพที่มีประสบการณ์สอนในระดับอุดมศึกษา จำนวน 5 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่า อินโฟกราฟฟิกสามารถใช้พัฒนาการรู้ทางทัศนะของผู้เรียน นอกจากนี้ผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า การใช้อินโฟกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนสามารถพัฒนาการรู้ทางทัศนะให้กับผู้เรียนได้ และแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการสอนออกแบบอินโฟกราฟฟิกเพื่อพัฒนาการรู้ทางทัศนะนั้นประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อมก่อนการออกแบบ ประกอบด้วยกิจกรรม (1) การศึกษาทฤษฎีการสื่อสารทางทัศนะ (2) การฝึกวิเคราะห์และตีความภาพ (3) การฝึกประเมินผลงานอินโฟกราฟฟิก และขั้นตอนที่ 2 การสร้างผลงาน ประกอบด้วยกิจกรรม(1) การศึกษาค้นคว้าและระดมสมอง (2) การออกแบบ (3) การตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไข (4) การเผยแพร่ผลงาน)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

241

Last Page

259

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.