•  
  •  
 

Abstract

The purposes of this research were to 1) compare students? science learning achievement after learning through STEAM approach efficiency at the criteria level as 70 percent, 2) compare students? creative thinking skills before and after the learning activitiesthrough STEAM approach and 3) study the attitude of students after learning through the STEAM approach. The sample comprised 20 students from Prathomsuksa 4 at a School in Chonburi educational service area office 1. The researcher used 6 lesson plans based on STEAM. The research tools included a science learning achievement test, creative thinking test and attitude toward learning activities through STEAM approach test. The collected data were analyzed by mean, standard deviation, one sample t-test and paired t-test.The research findings were summarized as follows: 1) After the experiment,students? science achievement were 85.75 percent which was significantly higher than before at 70 percent with a statistical significance at the .05 level. 2) Students gained higher creative thinking scores after learning through the STEAM approach than before at the .05 significant level. 3) Students? attitude towards learning activities through the STEAM approach were at the highest level.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีม และ 3) ศึกษาเจตคติต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำนวน 20 คนผู้วิจัยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีม จำนวน 6 แผน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ และแบบวัดเจตคติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าทีแบบ One sample t-test และ Paired t-test ผลการวิจัย พบว่า 1) หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีม นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 85.75 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) เจตคติต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมของนักเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

203

Last Page

224

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.