Abstract
The purpose of this research was to study the state of, and propose guidelines for internal quality assurance of childcare centers. The research sample consisted of 214 administrators, 214 infant caregivers and 214 toddler caregivers working in 214 childcare centers for infants and toddlers under the Department of Children and Youth, Ministry of Social Development and Human Security. The total number of research samples was 642. The instruments used for collecting data were a questionnaire, and questions used for a focus group. The data were analyzed by using frequency and percentages. The research findings were as follows:1. The state of internal quality assurance consists of: 1) Preparation: Most child care centers had no assigned roles for personnel and no organized Learning Experience Plan; 2) Operation: Most childcare centers had not implementated a Learning Experience Plan; 3) Reporting: Most childcare centers were not using Assessment Reports. 2. The proposed guidelines for internal quality assurance of child care center consistof the following: 1) Preparation: There should be provision for defining the framework of personnel roles, a manual for the preparation of a Learning Experience Plan; 2) Operation: Centers should be providing and exchanging knowledge with other organizations;3) Reporting: Centers should be providing training and workshops on preparation of an Annual Assessment Report.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและนำเสนอแนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานรับเลี้ยงเด็กใน 3 ด้าน ได้แก่ การเตรียมการ การดำ าเนินงาน และการรายงาน2) ตัวอย่าง คือ สถานรับเลี้ยงเด็กที่มีเด็กวัยทารกและวัยเตาะแตะสังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จำนวนทั้งหมด 214 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้ดูแลเด็กวัยทารกและวัยเตาะแตะ จำนวนกลุ่มละ 214 คน รวมทั้งสิ้น 642 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแนวคำถามสำหรับการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. สภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน 1) ด้านการเตรียมการ พบว่า สถานรับเลี้ยงเด็กส่วนใหญ่ไม่มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากร ไม่มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ 2) ด้านการดำเนินการ พบว่า สถานรับเลี้ยงเด็กส่วนใหญ่ไม่มีการดำเนินงานตามแผนการจัดประสบการณ์ 3) ด้านการรายงาน พบว่า สถานรับเลี้ยงเด็กส่วนใหญ่ไม่มีการจัดทำรายงานประจำปี 2. แนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานรับเลี้ยงเด็ก ได้แก่ 1) ด้านการเตรียมการ ควรมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ และจัดทำคู่มือการจัดทำแผนการดำเนินงาน 2) ด้านการดำเนินการ ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานอื่น ๆ 3) ด้านการรายงาน ควรมีการให้ความรู้ในการจัดทำรายงานประจำปี)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
165
Last Page
183
Recommended Citation
Lertwaritnan, Panjapa and Kulapichitr, Udomluck
(2020)
"Proposed Guidelines for Internal Quality Assurance of Child Care Centers(การนำเสนอแนวทางสำหรับการประกันคุณภาพภายในของสถานรับเลี้ยงเด็ก),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
2, Article 10.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss2/10