•  
  •  
 

Abstract

This paper proposes a technique called the Visualization System using Positive Reinforcement Theory (VSPR) to develop problem-solving skills and self-esteem inyoung college-educated farmers. The research comprised four major steps (1) interviews with10 faculty members from university Agricultural departments to identify current problems in the classroom, as well as 432 undergraduate students from Agricultural departmentsin order to generate opinions, suggestions and requirements with regard to development of VSPR software, (2) development of VSRP prototype software, (3) testing VSRP prototype software with undergraduate students from university Agricultural departments, and(4) interviews with experts in order to solicit opinions and suggestions about VSPR andthe prototype software. The resulting VSPR prototype software consists of four elements:(1) system structure, (2) content, (3) visualization technique, and (4) evaluation, as wellas four steps: (1) suggestions, (2) presentation of problem scenario, (3) problem-solving activities and (4) summary. The t-test results of the VSPR prototype software showedsignificant improvement with regard to problem-solving skills and self-esteem in undergraduate students from university Agricultural departments at 0.01 and 0.01 consecutively.(การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบวิชวลไลเซชันตามทฤษฎีการเสริมแรงทางบวก (VSPR) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาและส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเองของเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยมีวิธีดําเนินการวิจัย 4 ระยะ คือ (1) ศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนจากคณาจารย์ด้านเกษตรศาสตร์ 10 ท่าน และศึกษาความพร้อมและความต้องการในการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเกษตร 432 คน เพื่อนําไปใช้ในการพัฒนาต้นแบบซอฟต์แวร์ (2) พัฒนาต้นแบบซอฟต์แวร์ (3) ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเกษตร และ (4) ศึกษาความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ VSPR และต้นแบบซอฟต์แวร์ ผลการวิจัย พบว่า ต้นแบบซอฟต์แวร์ระบบวิชวลไลเซชันตามทฤษฎีการเสริมแรงทางบวก ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) โครงสร้างระบบ (2) เนื้อหา (3) เทคนิควิชวลไลเซชัน และ (4) ประเมินผล และมีขั้นตอนหลัก 4 ขั้น ได้แก่ (1) ขั้นคําแนะนํา (2) ขั้นเสนอสถานการณ์ปัญหา (3) ขั้นกิจกรรมการแก้ปัญหา (4) ขั้นสรุปผล และจากผลการทดลองโดยใช้ค่า t-testพบว่า นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเกษตรมีทักษะการคิดแก้ปัญหาและความภาคภูมิใจในตนเองสูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญที่ 0.01 และ 0.01 ตามลําดับ)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

65

Last Page

85

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.