•  
  •  
 

Abstract

The objective of this research was to study exploratory factors of formativeleadership. The sample comprised 375 school directors under the primary educationservice area office, using multi-step random methods. The tool used for data collection was the formative leadership questionnaire with the index of correspondence equal to 0.88. Data collection began in January 2018 and the data was analyzed using exploratory factor analysis (EFA). The factor was extracted by using the Varimax Orthogonal AxisRotation technique. Factor analysis of formative leadership among the school directors resulted in 37 non-identity matrix variables. (Bartlett?s test: ?2 = 28487.57, df = 666, p = .00), and the value KMO = 0.89. The analysis of variables after Varimax rotation resulted in10 factors, including 1) Teamwork 2) Leadership 3) Trust 4) Creativity 5) Human resources 6) Service 7) Communication 8) Human relationships 9) Power distribution, and10) Change management, which had a variance of 95.23 percent. The teamwork factorhad the highest variance (44.85 percent) and the change management factor had the lowest variance (2.71 percent). Thus, improvement of formative leadership should consider these 10 factors.(การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบเชิงสํารวจของภาวะผู้นําเชิงก้าวหน้า กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจํานวน 375 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามภาวะผู้นําเชิงก้าวหน้าที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องรายฉบับเท่ากับ 0.88 โดยเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนมกราคมปี พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสํารวจ หมุนแกนองค์ประกอบแบบออโธโกนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบของภาวะผู้นําเชิงก้าวหน้าของผู้บริหารสถานศึกษา ทําให้ได้ตัวแปร 37 ตัวบ่งชี้ที่ไม่เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ (Bartlett?s test: ?2 = 28487.57, df = 666, p = .00) มีค่า KMO = 0.89 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเมื่อหมุนแกนโดยวิธีแวริแมกซ์แล้ว พบว่าได้ 10 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การทํางานเป็นทีม 2) ความเป็นผู้นําของผู้นํา 3) ความไว้วางใจ 4) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5) ทรัพยากรมนุษย์ 6) การให้บริการ 7) การสื่อสาร 8) มนุษยสัมพันธ์ 9) การกระจายอํานาจ และ 10) การบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 95.23 โดยองค์ประกอบการทํางานเป็นทีมมีร้อยละความแปรปรวนมากที่สุด (ร้อยละ 44.85) และองค์ประกอบการบริหารการเปลี่ยนแปลง มีร้อยละความแปรปรวนน้อยที่สุด (ร้อยละ 2.71) ดังนั้นการพัฒนาภาวะผู้นําเชิงก้าวหน้า ควรคํานึงถึงองค์ประกอบทั้ง 10 นี้ เพื่อพัฒนาให้เกิดคุณลักษณะเหล่านี้ต่อไป)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

465

Last Page

487

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.