Abstract
Dinosaur and other fossils had a significant effect on human in terms ofscience, culture, economy and education for long time. The results of this study indicated that fossils were used in science and mathematics education in three functions: 1) to motivate and inspire students in classroom activity participation; 2) to explain somecomplex topics in science and math subject; 3) to understand scientist career and how does scientist work. The results show that fossils are used from childhood to secondary education. Moreover, paleontological research method is one of the most appropriate methods to develop teacher?s research skills. However, there are studies indicating the limitations of the use of fossils in science education, particularly, student?s age.(ไดโนเสาร์และซากดึกดําบรรพ์อื่น ๆ มีอิทธิพลต่อมนุษย์ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ไปจนถึงด้านการศึกษามายาวนาน ผลจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ซากดึกดําบรรพ์ถูกนํามาใช้ด้านเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ใน 3 ลักษณะคือ 1) ทําหน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยสร้างแรงจูงใจ และเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนสนใจกิจกรรมในชั้นเรียน 2) ทําหน้าที่เป็นเครื่องมือนําเข้าสู่บทเรียนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ที่มีความซับซ้อน 3) นํามาใช้เพื่อเข้าใจอาชีพ และวิธีการทํางานของนักวิทยาศาสตร์ ผลการศึกษายังพบว่าซากดึกดําบรรพ์ถูกนํามาใช้กับในชั้นเรียนตั้งแต่ในระดับปฐมวัยไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ยิ่งไปกว่านั้นยังพบอีกว่า วิธีการวิจัยทางบรรพชีวินวิทยามีศักยภาพอย่างยิ่งในการนําไปใช้ส่งเสริมทักษะด้านการทําวิจัยของครู อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยบางชิ้นที่ระบุถึงข้อจํากัดในการนําซากดึกดําบรรพ์มาใช้ในด้านการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอายุของผู้เรียน)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
157
Last Page
174
Recommended Citation
Joongpan, Chalida
(2019)
"Dinosaurs in the Classroom: A Review of Applications of Paleontology in Science Education(ไดโนเสาร์ในห้องเรียน : การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางบรรพชีวินวิทยาในด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
3, Article 9.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss3/9