•  
  •  
 

Abstract

The objectives of this study were to: (1) develop mathematics learning activities for the Matthayom Sueksa Six students based on constructivist theory with the efficiency criterion set at 80/80; (2) compare students? academic achievements prior to and after the study was completed; and (3) determine the levels of satisfaction expressed by these students as regards the aforementioned learning activities. Using the cluster random sampling method, the researcher collected a sample consisting of 42 Matthayom Sueksa Six students at the Demonstration School of Ramkhamhaeng University. The instruments for data collection consisted of: (1) a test for measuring academic achievement, and(2) a measure of student satisfaction towards learning management. The statistics used in the research were percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of thisstudy indicated that: (1) mathematics learning activities on the Probability-basedConstructivist Theory of the Matthayom Sueksa Six Students satisfied the efficiencystandard at 81.03/80.63 with the efficiency criterion being set at 80/80; (2) academic achievement in mathematics shown by samples was higher upon completion of thestudy than prior to the study at the statistically significant level of .01; and (3) overall,the level of satisfaction of the sample under study with these learning activities was ata high level.(งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง จํานวน 42 คน ได้มาโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (2) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) กิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่องความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 81.03/80.63 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) กลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเรื่องความน่าจะเป็น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก)

Publisher

Faculty of Education, Chulalongkorn University

First Page

64

Last Page

81

Included in

Education Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.