•  
  •  
 

Article Title

Effects of Health Behavior Modification Program Based on FITS Model on Neck

Abstract

This research is a quasi-experimental research. The objectives of this study were to study effects of health behavior modification program based on FITS Model on neck shoulder and back pain among educational personnel. The research sample group comprisedof 50 educational personnel in Bangkok. The research duration was 6 weeks. The research instruments used were: 1) a health behavior modification program based on FITS Model 2) a practicing to reduce neck shoulder and back pain questionnaire; 3) a neck shoulder and back pain scale questionnaire. The data were analyzed by using mean, percentage and standard deviation and t-test statistics. This research results found that: 1) The mean score of practicing to reduce neck shoulder and back pain in experimental group before and after program and between experimental and control group were significantly different at the 0.05 level. 2) The mean score of neck shoulder and back pain in experimental group before and after program and between experimental and control group were significantly different at the 0.05 level.(การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้รูปแบบฟิตส์เพื่อลดอาการปวดคอ ไหล่ และหลังของบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรทางการศึกษา 50 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย 6 สัปดาห์เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้รูปแบบฟิตส์ 2) แบบสอบถามการปฏิบัติเพื่อลดอาการปวดคอ ไหล่ และหลัง และ 3) แบบสอบถามอาการปวดคอ ไหล่ และหลัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการปฏิบัติและอาการปวดคอ ไหล่ และหลัง โดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการปฏิบัติตนเพื่อลดอาการปวดคอ ไหล่ และหลังของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนอาการปวดคอ ไหล่ และหลังของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05)