•  
  •  
 

Article Title

Resilience in the Preschooler Classroom(ความเข้มแข็งทางจิตใจของเด็กในห้องเรียนอนุบาล)

Authors

Author #1

Abstract

The focus of this article is the importance of resilience for preschoolers, which is an important quality for human life to help young children live happy lives. Children with a resilient shield will be able to handle problems by using appropriate social and emotion skills and problem solving abilities to help them overcome obstacles. Preschooler teachersplay a role in promoting resilience in children at this age; thus, they should follow importantguidelines of teachers to promote resilience in the classrooms including (1) creating a learningatmosphere in the classroom consisting of an environment that encourages children to feel secure, safe, confidence, self-esteem and trustful, as feelings are an important part of the classroom and vital to having good interaction with others; and, (2) learning managementis an activity or experience that enhances social skills and emotional management of childrenthrough play and various actions, create positive values, and thus encourages children to have new experiences, real self-awareness, awareness of positive and negative impacts, create an agreement and strive to comply with established agreements, and obtain skills to deal with various challenges.(บทความนี้นำเสนอความสำคัญของความเข้มแข็งทางจิตใจที่มีต่อเด็กวัยอนุบาล ซึ่งความเข้มแข็งทางจิตใจนั้นเป็นศักยภาพที่สำคัญในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เด็กปฐมวัยสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข เด็กที่มีความเข้มแข็งทางจิตใจเป็นเกราะป้องกัน จะสามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ โดยการใช้ทักษะทางอารมณ์และสังคม รวมถึงการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้เด็กผ่านพ้นอุปสรรคเหล่านั้นได้ ครูอนุบาลมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้เด็กเกิดความเข้มแข็งทางจิตใจ โดยปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่สำคัญในการส่งเสริมความเข้มแข็งทางจิตใจในห้องเรียนอนุบาล ได้แก่(1) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่สนับสนุนให้เด็กเกิดความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย มีความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในตนเอง และไว้วางใจ เกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของห้องเรียน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้คนรอบตัวและ (2) การจัดการเรียนรู้ เป็นการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ์ที่เสริมสร้างทักษะทางสังคมและการจัดการอารมณ์ของเด็กผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติที่หลากหลาย สร้างค่านิยมเชิงบวก ส่งเสริมให้เด็กมีประสบการณ์ใหม่ รับรู้ตนเองตามความเป็นจริง ตระหนักถึงการยอมรับผลการกระทำของตนเองทั้งทางบวกและทางลบ ร่วมกันสร้างข้อตกลงและมุ่งมั่นปฏิบัติตามข้อตกลงที่สร้างขึ้น มีทักษะในการรับมือกับปัญหาต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์)