Abstract
This research was aimed to: 1) develop an Instructional Model based on Social Cognitive Theory and Strategic Life Planning to enhance Self-Regulation and HealthEducation Learning Achievement of lower secondary school students; and 2) study the effectiveness of the instructional model which was developed. The study consisted of a Quasi-Experimental Design which was conducted by a Single-group interrupted Time-series Design. The samples comprised of 23 ninth-grade students in a Health Educational class. The experimental instruments were the lesson plans on Health Education with the sessions of the trail totaling 20 hours, with 1 hour per day for 1 semester. Self-Regulation Scales were as follows: SRS with an IOC of 0.90-1.00, Cronbach's Alpha Co-efficient = .95 and Health Education Achievement Test with an IOC of 0.80-1.00, KR-20 = .89, Difficulty values between 0.43-0.70 and a Discrimination index between 0.20-0.37 were utilized as instruments for data collecting. Percentage, mean, standard deviation and t-test were used as data analysis. The findings were as follows: 1. The developed Instructional Model consists of 5 main components: 1) Attention2) Forethought 3) Tactic Planning 4) Execution and 5) Reflection.2. The effectiveness of the developed Instructional Model was: 2.1 Mean scores of the Self-Regulation Scales post-test were 2.98 percentincreasing, and higher than the mean scores of the pre-test at .05 level of significance. 2.2 Mean scores of the Health Education Learning Achievement post-test were higher than mean scores of the pre-test at .05 level of significance.(การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญาและแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต เพื่อเสริมสร้างการกำกับตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสุขศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอน โดยศึกษากลุ่มเดียววัดหลายครั้งแบบอนุกรมเวลา ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา จำนวน 20 สัปดาห์ ๆ ละ 1 ชั่วโมง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบวัดการกำกับตนเอง ที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.90-1.00ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค = .95 2) แบบทดสอบความรู้รายวิชาสุขศึกษา ที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80-1.00 ค่า KR-20 = .89 ค่าความยาก 0.43-0.70 ค่าอำนาจจำแนก 0.20-0.37 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการเรียนการสอนมีองค์ประกอบหลัก 5 ขั้น คือ 1) สร้างความสนใจ 2) คาดการณ์ล่วงหน้า 3) วางแผนยุทธศาสตร์4) ปฏิบัติให้สำเร็จ และ 5) สะท้อนผลงาน และมีประสิทธิผล คือ 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการกำกับตนเองของกลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการสูงขึ้น ร้อยละ 2.98 โดยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสุขศึกษา หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
345
Last Page
368
Recommended Citation
Bansong, Adisorn
(2019)
"The Study of the Effectiveness of an Instructional Model based on Social Cognitive Theory and Strategic Life Planning to Enhance Self-Regulation and Health Education Learning Achievement of Lower Secondary School Students in Buriram Province(การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญาและแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์ชีวิต เพื่อเสริมสร้างการกำกับตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสุขศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดบุรีรัมย์),"
Journal of Education Studies: Vol. 47:
Iss.
0, Article 43.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol47/iss0/43