•  
  •  
 

Article Title

Effects of Spatial Activities on Drawing Skills for Sixth Grade Students(ผลการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์ที่มีต่อทักษะการวาดภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6)

Abstract

The purpose of this research was to study the effect of spatial activities on drawingskills for sixth grade students. The research design was experimental research, using pretest?posttest one group design and the experimental group exercised for 50 minutes a day, once a week for a period of 8 weeks. The sample was 30 second level Kindergarteners from Watchaimomgkon School, under Bangkok student Education. The research tool used in this study was the pretest?posttest, program of spatial activities and improvement in attitude of the student in the string classes of spatial activities after the experiment. The data was statistically analyzed by using means, standard deviation and t-test.The research finding found that, the scores of the students after participating in spatial activities were higher than before at a .05 significance level, and analysis of attitudes of the sixth grade of students on the spatial activities could be found that the majority of the students enjoyed these activities representing 86.7 percent.(การวิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์ที่มีต่อทักษะการวาดภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์ที่มีต่อทักษะการวาดภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบ Pretest?posttest one group design ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 8 สัปดาห์ ๆ 1 ครั้งละ ๆ 50 นาที กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนวัดชัยมงคล สังกัดสำนักงานกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบการวาดภาพก่อนและหลังเรียน แผนการสอนโดยใช้กิจกรรมมิติสัมพันธ์ และแบบวัดเจตคติที่มีต่อการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย สถิติร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยการทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์มีผลคะแนนการวาดภาพหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และผลการวิเคราะห์แบบวัดเจตคติที่มีต่อการจัดกิจกรรมมิติสัมพันธ์พบว่า เด็กส่วนใหญ่ชอบกิจกรรมที่จัดขึ้นมาก คิดเป็นร้อยละ 86.7)