Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การศึกษาความยืดหยุ่นของอุปสงค์และการประยุกต์ใช้ในการร่วมมือสำหรับบริการขนส่งจากต้นทางและสู่ปลายทาง ระหว่างระบบขนส่งมวลชน และผู้ให้บริการเครือข่ายคมนาคม
Year (A.D.)
2019
Document Type
Thesis
First Advisor
Manoj Lohatepanont
Faculty/College
Faculty of Engineering (คณะวิศวกรรมศาสตร์)
Department (if any)
The Regional Centre for Manufacturing Systems Engineering (ศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Engineering Management
DOI
10.58837/CHULA.THE.2019.206
Abstract
Since today, Bangkok faces the big pollution and low mobility. One main reason is Bangkok people tend to travel by automobiles instead of the transit. The main problem of Bangkok transit especially Bangkok metro is the low accessibility to travel to/from the transit nodes and between nodes or as called First Mile Last Mile problem. Moreover, Bangkok metro transit fare is claimed that is too expensive compared to the cost of living and minimum wages in Bangkok. This research aims to study the price elasticity of demand for Bangkok metro which is the indicator of fare demand management in Bangkok metro transit that is important to have the public opinion on the fare with their range of acceptable price. Following to analyse the approach for the collaboration between Bangkok metro transit and ride sharing providers, in order to find the solution to improve the First Mile Last Mile of Bangkok metro transit and the accepted service fare strategy. The research methods are surveying the Bangkok metro users for the accepted fare opinion and interviewing the metro operators and ride sharing providers for the collaborative approach with their fare strategies. The results show the metro routes which is operated by Bangkok Mass Transit System Public Company Limited (BTSC) is elastic to demand and should discount its current fare base on users opinion. While the metro routes which is operated by Bangkok Expressway and Metro Public Limited Company (BEM) is inelastic to demand that its current fare is already in the accepted range. Moreover, the Bangkok metro operator and ride sharing provider accept the collaborative approach that is able to gain the mutual benefit for the transport providers to increase its service demand and for the Bangkok people to increase the conveniences and decrease cost of travelling in their daily life.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
ในปัจจุบัน ประชาชนในกรุงเทพมหานครต้องเผชิญกับมลภาวะและการเดินทางที่ไม่สะดวก เหตุผลหลักประการหนึ่งคือคนกรุงเทพฯมักจะเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัวแทนการเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ สาเหตหลักคือการขนส่งในกรุงเทพฯโดยเฉพาะอย่างยิ่งรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพฯนั้นเข้าถึงยาก ทั้งการเดินทางไปยังสถานี และเดินทางจากสถานีไปยังจุดหมายปลายทาง หรือที่เรียกว่าปัญหาการขนส่งจากต้นทางและสู่ปลายทาง ยิ่งไปกว่านั้นค่าโดยสารรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพฯ ถูกมองว่าสูงเกินไปเมื่อเทียบกับค่าครองชีพและค่าแรงขั้นต่ำในกรุงเทพฯ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาค่าโดยสารรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมมหานครซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดสำหรับการจัดการวางแผนค่าโดยสารรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับระดับราคาค่าโดยสารที่เหมาะสม อีกทั้งเพื่อวิเคราะห์การทำงานร่วมกันระหว่างผู้ให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพและผู้ให้บริการเครือข่ายคมนาคม เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงการขนส่งจากต้นทางและสู่ปลายทางของรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ขั้นตอนการวิจัยคือการทำแบบสอบถามผู้ใช้งานรถไฟฟ้าในกรุงเทพฯเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าโดยสาร และสัมภาษณ์ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าในกรุงเทพฯและผู้ให้บริการเครือข่ายคมนาคม สำหรับแนวทางในการร่วมมือกันของผู้ให้บริการขนส่งและกลยุทธ์ค่าโดยสาร ผลลัพธ์ของการทำวิจัยแดงให้เห็นว่าโดยสารของเส้นทางรถไฟฟ้าที่ให้บริการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BTSC) มียืดหยุ่นต่ออุปสงค์ และควรลดราคาค่าโดยสาร ตามความเห็นของผู้ใช้บริการ ในขณะที่ค่าโดยสารของเส้นทางรถไฟฟ้าซึ่งให้บริการโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด มหาชน (BEM) นั้น ไม่ยืนหยุ่นต่ออุปสงค์ และราคาค่าโดยสารปัจจุบันอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนั้น ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและผู้ให้บริการเครือข่ายคมนาคม เห็นด้วยกับการร่วมมือกัน ซึ่งจะได้รับผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสามารถเพิ่มผู้ใช้บริการ เพิ่มความสะดวกสบายต่อผู้ใช้บริการ และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางในชีวิตประจำวัน
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Warapiankul, Voragorn, "A study of price elasticity of demand and its application in first mile/last mile service collaboration between mass transit and ride sharing providers" (2019). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 8582.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/8582