Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
the studying of industrial promotion policy formulation in Thailand case : the direction of electric vehicle industry (be a traditional entrepreneur or a leader in innovative production)
Year (A.D.)
2020
Document Type
Independent Study
First Advisor
ชฎิล โรจนานนท์
Faculty/College
Faculty of Political Science (คณะรัฐศาสตร์)
Department (if any)
Department of Public Administration (ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
รัฐประศาสนศาสตร์
DOI
10.58837/CHULA.IS.2020.392
Abstract
การศึกษาแนวทางการกำหนดนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยว่าควรจะไปในทิศทางใด จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสัมภาษณ์แนวทางการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบว่านโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย มุ่งเน้นการนำเข้าชิ้นส่วนสำคัญและการรับจ้างประกอบ ซึ่งสะท้อนได้จากผลการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประโยชน์จากนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งผลการคำนวณอยู่ในระดับ 0.35 สะท้อนถึงต้นทุนของผู้สูญเสียผลประโยชน์ในระดับที่สูง นำไปสู่การกำหนดนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยที่ขาดความชัดเจน การใช้งบประมาณชดเชยให้กับผู้เสียผลประโยชน์ที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่เกี่ยวกับเครื่องยนต์ และ ผู้ขายน้ำมันกลุ่มรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน จะทำให้การออกนโยบายดังกล่าวมีความชัดเจนและเป็นเอกภาพ จากการศึกษานโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศจีนและประเทศญี่ปุ่น พบว่ารัฐบาลของประเทศดังกล่าวนำเสนอนโยบายสาธารณะที่ครอบคลุม นับตั้งแต่นโยบายส่งการบริโภค นโยบายส่งเสริมการผลิต นโยบายส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี นโยบายการอุดหนุนจากภาครัฐ นโยบายด้านการควบคุมมลพิษ โดยผ่านมาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ มาตรการทางการคลังและกึ่งการคลัง เพื่อสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะพัฒนาขีดความสามารถทางนวัตกรรมและเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและยกระดับการพัฒนาประเทศบนพื้นฐานของความยั่งยืน
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
This is the study on directions of policy planning to promote Thailand’s industry for electric automobiles (as traditional entrepreneurs or innovative entrepreneurs). The data of the study was collected by researching related materials, interviewing the stakeholder organizations in terms of their operation, problems and threats. The results show that the policies promoting electric automobile industry in Thailand put emphasis on import of key automotive parts and assembly service. The number, analyzed from the stakeholders of the policies promoting electric automobile industry, accounts for 0.35. Such number represents high costs of the stakeholders, leading to low clarity of policy planning to promote Thailand’s industry for electric automobiles. Therefore, it is recommended that the government allocate budget to compensate losses of the stakeholders most of whom are mechanic automotive part manufacturers along with private and state-enterprise oil retailers. This will help clarify and unify the policy planning. Having studied the policies promoting electric automobile industry in China and Japan, it can be concluded that such countries implemented the public policies which involves all the stakeholders. The policies were implemented to promote consumption, production, research and development on electric automobile technology, government support and pollution control. Such policies included international trade policies, fiscal policies and quasi-fiscal policies to subsidize research scholarship for electric automobile innovation. These policies are considered vital to improve potential of Thailand’s industry in terms of electric automobile innovation and technology. Correspondingly, such improvement will help increase Thailand’s economic value and promote economically sustainable development.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
มหามงคล, วุฒิ, "การศึกษาแนวทางการกำหนดนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมในประเทศไทย
กรณีอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าจะไปในทิศทางใด
(เป็นผู้ประกอบแบบดั้งเดิม หรือ ผู้นำด้านการผลิตนวัตกรรม)" (2020). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 7478.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/7478