Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

“ภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน”: กรณีศึกษากลวิธีการถ่ายทอดความประโยคบอกเหตุผลและประโยคบอกเงื่อนไข

Year (A.D.)

2020

Document Type

Thesis

First Advisor

Thanakon Kaewwipat

Faculty/College

Faculty of Arts (คณะอักษรศาสตร์)

Department (if any)

Department of Western Languages (ภาควิชาภาษาตะวันตก)

Degree Name

Master of Arts

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

German

DOI

10.58837/CHULA.THE.2020.239

Abstract

Die vorliegende Arbeit untersucht das Konzept Leichte Sprache. In dieser Arbeit warden die Ubertragungsstrategien bei kausalen und konditionalen. Satz-verknupfungen anhand des selbst zusammengestellten Korpus sowohl theoretisch als auch empirisch untersucht. Das Korpus besteht aus insgesamt 14 Texten, sieben Texte sind in Standardsprache und sieben Texte sind ihre Ubertragung in die Leichten Sprache. Aus der Untersuchung ergibt sich, dass die Ubertragung in die Leichte Sprache die Merkmale der denotativen und pragmatischen Aquivalenz nach Koller erfults. Daruber hinaus wird ersichtlich, dass die Ubertragung in die Leichte Sprache von der Interpretation der Ubersetzenden abhangig ist. Bei der Ubertragung kommen die Strategien Umschreibung, Auslassung und Erganzung zum Einsatz. Dabei verandern sich die Textsorte, -funktion und –gestaltung. Im Hinblick auf die Satzverknupfungen dominieren die syndetischen Satzverknupfungen anhand von Subjunktionen. Weiterhin weist das Korpus die sieben folgenden Strategien zum Ausdruck der Kausalitat und Konditionalitat auf: (1) die unmarkierte Satzstellung, (2) die markierte Satzstellung, (3) der Einsatz von Doppelpunkt statt Komma, (4) der alleinstehende abhangige Haupt- und Nebensatz, (5) die elliptische Struktur, (6) die Strategie "Konnektor+Doppelpunkt" an der Satzspitze und (7) die Konstruktion" Frage+Dann".

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาเรื่อง "ภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน" (Leichte Sprache) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีถ่ายทอดความจากภาษาเยอรมันมาตรฐานเป็น "ภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน" โดยเลือกศึกษาเฉพาะกลวิธีการถ่ายทอดความประโยคบอกเหตุผลและประโยคบอกเงื่อนไข ด้วยการศึกษาเปรียบเทียบตัวบทซึ่งจัดทำขึ้นโดยกระทรวงแรงงานและสังคมแห่งเยอรมนีจำนวนรวม 14 ตัวบท แบ่งเป็นตัวบทต้นทางภาษาเยอรมันมาตรฐาน 7 ตัวบท และตัวบทปลายทางฉบับภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน 7 ตัวบท จากการวิจัยพบว่า การถ่ายทอดความให้เป็นภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อนใช้กลยุทธ์แบบสรุปความเพื่อรักษาความหมายของต้นฉบับ (denotative equivalence) และกลยุทธ์การถ่ายทอดความแบบเน้นการปฏิบัติจริง (pragmatic equivalence) นอกจากนี้ยังต้องอาศัยการตีความตัวบทจากผู้แปลอีกด้วย เพราะจะต้องมีการตัดทอน เพิ่มเติม หรืออธิบายเนื้อความบางส่วนในตัวบทภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน กลวิธีเช่นนี้ทำให้ประเภทของตัวบท หน้าที่ของตัวบทและลักษณะภายนอกของตัวบทเปลี่ยนแปลงไป เมื่อศึกษาในระดับโครงสร้างประโยคพบว่า กลวิธีการถ่ายทอดความประโยคบอกเหตุผลและประโยคบอกเงื่อนไขที่พบได้บ่อยที่สุดคือ การใช้คำสันธานเชื่อมประโยคความซ้อน ซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดความเป็น ภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน นอกจากนี้ยังพบกลวิธีการถ่ายทอดความประโยคบอกเหตุผลและประโยคบอกเงื่อนไขเป็นภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อนรวม 7 กลวิธีได้แก่ (1) การเรียงลำดับคำแบบปกติ (2) การเรียงลำดับคำแบบไม่ปกติ (3) การใช้เครื่องหมายทวิภาคแทนจุลภาค (4) การใช้ประโยคความรวมหรือความซ้อนเดี่ยว (5) การละเล่นส่วนของประโยค (6) การใช้โครงสร้าง "คำเชื่อม+ทวิภาค" ที่สวนต้นของประโยค และ (7) การใช้โครงสร้าง "คำถาม+ดังนั้น (dann)"

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.