Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
Roles of technology on class relations in Thailand: a case study of grab taxi B.E. 2012 -2021
Year (A.D.)
2020
Document Type
Thesis
First Advisor
ชลธิศ ธีระฐิติ
Faculty/College
Faculty of Political Science (คณะรัฐศาสตร์)
Department (if any)
Department of Government (ภาควิชาการปกครอง)
Degree Name
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
การปกครอง
DOI
10.58837/CHULA.THE.2020.567
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาสองประเด็นด้วยกันคือ 1. เพื่อศึกษาเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อชนชั้นทางสังคม 2. เพื่อศึกษาลักษณะชนชั้นทางสังคมของแกร็บแท็กซี่ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในลักษณะที่เป็นกรณีศึกษา (Case Study) ผู้เขียนรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) มาวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าวิจัยมาเชื่อมโยงและหาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อที่จะนำไปสู่การตีความ (Hermeneutics) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า เทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาของระบบทุนนิยมแพลตฟอร์มในปัจจุบัน และเป็นปัจจัยที่ทำให้ความสัมพันธ์ทางชนชั้นเปลี่ยนไปจากเดิม เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีและไม่มีอำนาจในการควบคุมแพลตฟอร์ม(ปัจจัยในการผลิต) การแสวงหากำไรจากแพลตฟอร์ม และทำให้แพลตฟอร์มนั้นเสมือนเป็นของสาธารณะ แกร็บแท็กซี่เป็นหนึ่งในอาชีพที่ต้องพึ่งพาแพลตฟอร์มในการทำงาน ส่งผลให้ลักษณะการทำงานของแกร็บแท็กซี่มีลักษณะคล้ายคลึงกับชนชั้นกลาง กล่าวคือเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิตเอง เลือกเวลาในการทำงานเองได้ แบกรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเสมือนเป็นเจ้าของธุรกิจส่วนตัว และสามารถเลือกทำงานแกร็บแท็กซี่ในเวลาว่างหลังเสร็จสิ้นจากงานประจำได้ เป็นอิสระในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน และในขณะเดียวกันนั้นแกร็บแท็กซี่ก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับชนชั้นแรงงานที่ถูกแพลตฟอร์มของบรรษัทข้ามชาติขูดรีดมูลค่าส่วนเกินด้วย ดังนั้นอาชีพแกร็บแท็กซี่จึงมีความเป็นชนชั้นกลางและชนชั้นแรงงานในบางเวลา สอดคล้องกับทฤษฏีตำแหน่งของชนชั้นที่ขัดแย้งกันเองภายใน (Contradictory Class Location theory)
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
The purposes of this thesis are: 1. to examine how technology affects the social classes and 2. to examine the social class characteristics of Grab Taxi drivers. The study used qualitative research methods for case study. The author collects information from the document and participant observations then analyzes the correlations of data using hermeneutics. The results of the study revealed that nowadays technology is crucial factor in the development of Platform Capitalism and It was a factor that challenged and transformed the status quo of class relationships. The relationship between those who have and those who do not have the authority to control the platform (factor of production), platform profitability, and make the platform as public. Grab Taxi driver is one of those occupations that rely on the platform system. As a result, the characteristics of Grab Taxi drivers are similar to the petty bourgeoisie; they own the factors of production themselves, they can choose their working time, take all the risks as if you were the business owner and they can choose the working time for Grab Taxi after the routine job. They have a freedom to make decisions of their work. At the same time, Grab Taxi drivers have the same characteristics as a working class who is exploited by multinational corporations' platforms.Therefore, Grab Taxi drivers have become petty bourgeoisie and a working class for some time. This is consistent with Contradictory Class Location Theory.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
ถาวร, ธนวิชย์, "บทบาทของเทคโนโลยีต่อความสัมพันธ์ทางชนชั้นในสังคมไทย: กรณีศึกษาแกร็บแท็กซี่ พ.ศ. 2555 - 2564" (2020). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 4114.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/4114