Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
คุณค่าตราสินค้าชาแนลในสายตาของผู้บริโภคชาย
Year (A.D.)
2023
Document Type
Independent Study
First Advisor
Suthiluck Vungsuntitum
Faculty/College
Faculty of Communication Arts (คณะนิเทศศาสตร์)
Degree Name
Master of Arts (Communication Arts)
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Strategic Communication Management
DOI
10.58837/CHULA.IS.2023.32
Abstract
This research aims to study male consumers' brand equity of Chanel. A qualitative method was used to collect data through 12 in-depth interviews. The respondents are 12 Thai male millennials, who are aged between 23 - 38, living in Bangkok, Thailand, and have purchased a product from Chanel within the last 12 months. The findings of this study indicate that male consumers had a good brand recall of Chanel. Male consumers have a positive brand image of Chanel and view them as a timeless brand, a top-tier luxury brand that is expensive in comparison to other luxury brands on the market, offering products that can be utilized in an array of ways in their everyday lives. Male consumers’ believe that Chanel is a feminine brand, with high-quality products and accommodating services. They believe that Chanel is a trustworthy and credible brand that is utilized by wealthy demographics of people who have a luxurious lifestyle. Male consumers regard Chanel’s brand name and symbol as a reason for making their initial purchase and that the brand provides them with self-expression and gives them social benefits by alleviating their social status. The role of media has influenced their perceptions of Chanel, along with celebrities that utilize its products seen through online platforms. Chanel’s French origin shapes the male consumers' thoughts on the brand's image as France plays a big role in Chanel’s brand identity and product quality.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าตราสินค้าชาแนลในสายตาผู้บริโภคชาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการรวบรวมข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 12 คน ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นกลุ่มตัวอย่างคนไทย เพศชาย เจนเนอเรชั่นมิลเลนเนียล จำนวน 12 คน ที่มีอายุระหว่าง 23 - 38 ปี อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ประเทศไทย และได้ซื้อผลิตภัณฑ์ชาแนล ภายในระยะเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้บริโภคเพศชายสามารถจดจำตราสินค้าชาแนลได้เป็นอย่างดี ผู้บริโภคเพศชายมีมุมมองเชิงบวกต่อชาแนล และมองว่าเป็นแบรนด์ที่อยู่เหนือกาลเวลา และเป็นแบรนด์หรูระดับท็อปที่มีราคาแพงเมื่อเทียบกับแบรนด์หรูอื่นๆ ในท้องตลาด โดยนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายรูปแบบในชีวิตประจำวัน ผู้บริโภคเพศชายเชื่อว่าชาแนลเป็นตราสินค้าสำหรับผู้หญิงที่มีผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงและให้บริการที่ดีมาก พวกเขาเชื่อว่าชาแนล เป็นแบรนด์ที่น่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ ซึ่งถูกใช้โดยกลุ่มประชากรที่มีฐานะร่ำรวยซึ่งมีไลฟ์สไตล์ที่หรูหรา ผู้บริโภคเพศชายมองว่าชื่อและสัญลักษณ์ของตราสินค้าชาแนล เป็นเหตุผลที่สำคัญในการทำการซื้อครั้งแรกของพวกเขา รวมถึงมองว่าตราสินค้านี้มีความหมายกับการแสดงตัวตนของตัวเองและให้ประโยชน์ทางสังคมโดยการยกสถานะสังคมของพวกเขา บทบาทของสื่อ รวมถึงผู้มีชื่อเสียงที่ใช้ผลิตภัณฑ์ชาแนลที่รับชมผ่านช่องทางออนไลน์มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของชาแนลต่อกลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ประเทศฝรั่งเศสซึ่งเป็นต้นกำเนิดของชาแนลยังกำหนดความคิดของผู้บริโภคเพศชายเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของตราสินค้าเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีบทบาทสำคัญในเอกลักษณ์ของตราสินค้าและคุณภาพผลิตภัณฑ์ของชาแนล
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Sheehan, Alexandra Grace, "Chanel brand equity in the eyes of male consumers" (2023). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 10102.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/10102