Abstract
This research aimed (1) to compare reflective thinking behaviors of nursing studentspre and post attending the instructional management by promoting reflective thinking skills, and (2) to compare the reflective thinking behaviors of nursing students who post received the instructional management by promoting reflective thinking skills to regular teaching method. Twenty eight sophomore/2nd year nursing students, Boromarajonani College of Nursing Buddhachinaraj, in the experimental group 14 persons and 14 persons in the control group who registered in the Health problem 1 subject, were enrolled in the study by purposive sampling. This study was a quasi-experimental, two groups pre-test, post-test design research. The research instruments were the demographaic data and Reflective Thinking Behaviors Assessment Form. The demographic data were analyzed by using frequency and percentage. The reflective thinking behaviors scores before and after attending the instructional management by promoting reflective thinking skills were compared by using paired t-test, and compared the reflective thinking scores of the control and the intervention group by using independent t-test. The results of the study showed that (1) the nursing students? reflective thinking behaviors scores after attending the instructional management by promoting reflective thinking skills were higher than those before attending the instructional management method with statistical significance of .05, and (2) the reflective thinking behaviors scores of nursing students who received the instructional management by promoting reflective thinking skills were higher than those in the control group with statistical significance of .05.(การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการสะท้อนคิดของนักศึกษาก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยการส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิด (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการสะท้อนคิดของนักศึกษาหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยการส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิดและนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช วิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 จำนวน 28 คน กลุ่มทดลอง 14 คน และกลุ่มควบคุม 14 คน เป็นการวิจัยกึ่งทดลองชนิดสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือ ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินพฤติกรรมการสะท้อนคิด วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลใช้สถิติความถี่และร้อยละ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการสะท้อนคิดก่อนและหลังการจัดการเรียนการสอนด้วยสถิติ Paired t-test และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการสะท้อนคิดของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองด้วยสถิติ independent t-test พบว่า (1) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการสะท้อนคิดของนักศึกษาหลังการเรียนการสอนโดยการส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิดสูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการสะท้อนคิดของนักศึกษาที่ได้รับการเรียนการสอนโดยการส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิดสูงกว่านักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05)
Publisher
Faculty of Education, Chulalongkorn University
First Page
224
Last Page
238
Recommended Citation
Chaisa, Pornpimol and Janwiji, Saichol
(2020)
"The Effects of Reflective Thinking Skill Promoting Based Learning and Instruction on Reflective Thinking Behaviors among Nursing Students(ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยการส่งเสริมทักษะการสะท้อนคิดต่อพฤติกรรมการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาล),"
Journal of Education Studies: Vol. 48:
Iss.
1, Article 12.
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol48/iss1/12