Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพชาวเมียนมาร์จากโลหะหนักปนเปื้อนในขิง ในประเทศเมียนมาร์และประเทศไทย
Year (A.D.)
2021
Document Type
Thesis
First Advisor
Pokkate Wongsasuluk
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Hazardous Substance and Environmental Management
DOI
10.58837/CHULA.THE.2021.1195
Abstract
Heavy metals are naturally present in the soil, but geologic and anthropogenic activities raise their concentrations to harmful levels for both plants and animals. This study aims 1) to determine the concentrations of heavy metals (As, Cu, Ni, Cd, Cr, and Pb) in ginger (Zingiber officinale Roscoe) from the wholesale markets of Bangkok, Thailand, and from Yangon, Myanmar, and 2) to access cancer and noncancer risks of Burmese related to the consumption of heavy metal contaminated ginger. The online questionnaire was used to collect personal information and consumption rate. ICP-MS was used to investigate As, Cu, Ni, Cd, Cr, and Pb contaminations in ginger. Most of the heavy metals in ginger from Bangkok and Yangon were lower than the WHO permissible limits, except for Pb in the ginger of Bangkok, As and Pb in the ginger of Yangon were exceeded. The average consumption rate of ginger in Bangkok was 44.08± 6.54 g/day, and 44.61± 7.91 g/day in Yangon. The health risk assessment results showed the average hazard quotient (HQs) of As, Cd, Cr, Cu, Ni, and Pb were 0.0166, 0.0038, 0.0322, 0.0265, 0.0080, and 0.0211 respectively, the hazard index (HI) was 0.1082, indicating acceptable risks for non-cancer for Thailand. Regarding Yangon, Myanmar, the HQs of As, Cd, Cr, Cu, Ni, and Pb were 0.1228, 0.0003, 0.0724, 0.0196, 0.0078, and 0.0311 respectively, the HI was 0.2552. However, the cancer risk (CR) of As, Cd, and Pb were 0.810×10-6, 0.157 x 10-6, and 0.068 ×10-6 for Bangkok, and were 18.449 ×10-6, 0.038 ×10-6, and 0.309 ×10-6 for Yangon respectively. The total carcinogenic risk (TCR) of As, Cd, and Pb was 1.035×10-6 in Bangkok, and 18.796×10-6 in Yangon. Both were higher than the acceptable level of 1×10-6. In conclusion, the heavy metal concentrations in ginger from Myanmar were higher than in ginger from Thailand, besides, Burmese living in Myanmar have greater lifetime cancer risks related to ginger consumption than Burmese living in Thailand.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
โลหะหนักปนเปื้อนในดินนั้น พบทั่วไปในดินตามธรรมชาติ แต่กิจกรรมที่เกี่ยวกับธรณีวิทยาต่างๆของมนุษย์นั้น สามารถเพิ่มการปนเปื้อนของโลหะหนักในดิน ถึงระดับที่เป็นอันตรายต่อทั้งพืชและสัตว์ได้ การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาความเข้มข้นของโลหะหนัก (As, Cu, Ni, Cd, Cr และ Pb) ในขิง (Zingiber officinale Roscoe) จากตลาดค้าส่งในกรุงเทพฯ ประเทศไทย และจากย่างกุ้ง เมียนมาร์ 2) เพื่อเประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ จากการเกิดมะเร็งและไม่ใช่มะเร็ง ของชาวพม่า ที่บริโภคขิงปนเปื้อนโลหะหนัก มีการใช้แบบสอบถามออนไลน์เพื่อรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลและอัตราการบริโภคขิง ตรวจสอบการปนเปื้อน As, Cu, Ni, Cd, Cr และ Pb ในขิง โดย ICP-MS ผลการศึกษาพบว่า โลหะหนักส่วนใหญ่ในขิงจากกรุงเทพฯและย่างกุ้ง ต่ำกว่ามาตรฐานความปลอดภัยของ WHO ยกเว้น Pb ในขิงของกรุงเทพฯ As และ Pb ในขิงของย่างกุ้ง ที่สูงความระดับความปลอดภัยต่อการบริโภค อัตราการบริโภคขิงโดยเฉลี่ยในกรุงเทพฯ อยู่ที่ 44.08± 6.54 กรัม/วัน และ 44.61± 7.91 กรัม/วัน ในย่างกุ้ง ผลการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพในกรุงเทพฯ พบว่า Hazard Quotient (HQs) ของ As, Cd, Cr, Cu, Ni และ Pb เท่ากับ 0.0166, 0.0038, 0.0322, 0.0265, 0.0080, และ 0.0211 ตามลำดับ Hazard Index (HI) เท่ากับ 0.1082 ซึ่งอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ สำหรับย่างกุ้ง พบว่าค่าเฉลี่ย HQs ของ As, Cd, Cr, Cu, Ni และ Pb คือ 0.1228, 0.0003, 0.0724, 0.0196, 0.0078 และ 0.0311 ตามลำดับ HI คือ 0.2552 อย่างไรก็ตาม Cancer Risk (CR) ของ As, Cd และ Pb คือ 0.810×10-6, 0.157 x 10-6, 0.068 ×10-6 สำหรับกรุงเทพฯ และ 18.449 ×10-6, 0.038 ×10-6, 0.309 ×10-6สำหรับย่างกุ้ง ตามลำดับ ความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งโดยรวม (TCR) ของ As, Cd และ Pb เท่ากับ 1.035×10-6 ในกรุงเทพฯ และ 18.796×10-6 ในย่างกุ้ง ซึ่งทั้งสองนั้น สูงกว่าระดับที่ยอมรับได้ที่ 1 × 10-6 จึงสรุปได้ว่า ความเข้มข้นของโลหะหนักในขิงจากประเทศพม่า สูงกว่าโลหะหนักในขิงจากประเทศไทย และชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในประเทศพม่า มีความเสี่ยงต่อมะเร็งจากการบริโภคขิง มากกว่าชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Ko, May Ko, "Health risk assessment of Burmese related to heavy metal contamination in ginger from local markets in Myanmar and Thailand" (2021). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 9952.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/9952