Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
Preparation of PMMA-SILICA nanocomposites VIA RAFT emulsion polymerization and Hybrid membrane for pervaporation
Year (A.D.)
2019
Document Type
Thesis
First Advisor
ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ
Second Advisor
ภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ
Faculty/College
Faculty of Science (คณะวิทยาศาสตร์)
Department (if any)
Department of Chemical Technology (ภาควิชาเคมีเทคนิค)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
เคมีเทคนิค
DOI
10.58837/CHULA.THE.2019.559
Abstract
พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตอิมัลชันถูกสังเคราะห์ผ่านราฟต์อิมัลชันพอลิเมอไรเซชันควบคู่กับเทคนิคดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชันพอลิเมอไรเซชัน งานวิจัยนี้ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารมาโคร-ราฟต์ และปริมาณอนุภาคซิลิกา ต่อร้อยละการเปลี่ยนมอนอเมอร์ ขนาดอนุภาคเฉลี่ย และประสิทธิภาพการห่อหุ้มซิลิกา พบว่า พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกา นาโนคอมพอสิตมีค่าร้อยละการเปลี่ยนมอนอเมอร์ที่สูง ขนาดอนุภาคเฉลี่ยมีค่า 57.6 นาโนเมตร ที่ภาวะการเติมอนุภาคซิลิการ้อยละ 10 โดยน้ำหนักของมอนอเมอร์ ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน แสดงลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตแสดง โครงสร้างอนุภาคแกน-เปลือกระดับนาโน จากนั้นเตรียมยางธรรมชาติ/พีเอ็มเอ็มเอ- ซิลิกาไฮบริดเมมเบรนด้วยวิธีผสมโดยตรง ผลที่ได้แสดงให้เห็นความสามารถ ในการพัฒนาสมบัติเชิงกลและสมบัติเชิงความร้อนของพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกา นาโนคอมพอสิตในไฮบริดเมมเบรน และมากไปกว่านั้นการประยุกต์ใช้ไฮบริด เมมเบรนในกระบวนการเพอร์แวพอเรชัน อนุภาคพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิต สามารถเพิ่มค่าการซึมผ่านของน้ำและประสิทธิภาพการแยกใน ยางธรรมชาติ/พีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกาไฮบริดเมมเบรน โดยการปรับปรุงพื้นผิวของเมมเบรน ยางธรรมชาติให้มีค่าสมบัติชอบน้ำสูงขึ้น ดังนั้นพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตมี ศักยภาพที่จะนำไปใช้เป็นสารตัวเติมประสิทธิภาพสูงสำหรับเทคโนโลยีการแยกสาร
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
PMMA-SiO₂ nanocomposite emulsion was successfully synthesized via a combining reversible addition-fragmentation chain-transfer (RAFT) emulsion polymerization and differential microemulsion polymerization (DMP). The effects of macro-RAFT agent concentration and silica loading on the monomer conversion, average particle size and silica encapsulation efficiency were investigated. The PMMA-SiO₂ nanocomposites with high monomer conversion and average particle size of 57.6 nm were obtained at a low silica loading (10% by weight of monomer). The TEM morphology of PMMA-SiO₂ nanocomposites exhibited the nanosized core-shell structure. The NR/PMMA-SiO₂ membrane was prepared by a direct blending, resulting in the improvement of thermal and mechanical properties of PMMA-SiO₂ nanocomposites in hybrid membrane. Moreover, in pervaporation process application, the PMMA-SiO₂ nanocomposites could improve the water permeability with great separation efficiency in hybrid membrane by increasing the hydrophilicity of NR phase. Thus, the PMMA-SiO₂ nanocomposites show the great potential to be used as effective filler in membrane for high performance separation technology.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
ศรีสัมฤทธิ์, เกื้อชนม์, "การเตรียมพีเอ็มเอ็มเอ-ซิลิกานาโนคอมพอสิตผ่านราฟต์อิมัลชันพอลิเมอไรเซชันและไฮบริดเมมเบรนสำหรับเพอร์แวพอเรชัน" (2019). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 8935.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/8935