Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
โมเดลธุรกิจใหม่ของวิสาหกิจอาหารขนาดเล็กในประเทศไทย
Year (A.D.)
2019
Document Type
Thesis
First Advisor
Nattaya Ngamrojanavanich
Second Advisor
Nongnuj Muangsin
Third Advisor
Chupun Gowanit
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Technopreneurship and Innovation Management
DOI
10.58837/CHULA.THE.2019.522
Abstract
This research aims to investigate the core components of the food business and to develop the food business model for the small food firm. The study is conducting by using a mix-method approach. The finding shows that the food business model constellates six core components, which are innovation, value proposition, value delivery, revenue model, compelling strategy, and the firm’s performance. The six components are statistically validated the model relationship by using a correlation coefficient. The correlation indicates that a change of a component affects all the other components in the model as a whole. This study complementarity extends the contribution to the literature of the entrepreneurship and the business model aspects in a selected segment. The small food firm can apply the new food business model as a primal tool to assess the food business readiness.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการที่จะค้นหาองค์ประกอบหลักในการทำธุรกิจอาหารเพื่อที่จะพัฒนาขึ้นเป็นโมเดลธุรกิจสำหรับวิสาหกิจอาหารขนาดเล็กในประเทศไทย การวิจัยใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมทั้งในการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบหลักของธุรกิจอาหารของวิสาหกิจอาหารขนาดเล็กประกอบ 6 ปัจจัยหลักได้แก่ นวัตกรรม การสร้างคุณค่า การส่งมอบคุณค่า การสร้างรายได้ การเลือกใช้กลยุทธ์ และผลประกอบการของวิสาหกิจ ซึ่งทั้ง 6 ปัจจัยในโมเดลธุรกิจอาหารนั้นได้ถูกทดสอบทางสถิติด้วยเทคนิคการหาค่าของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพื่อตรวจสอบว่าแต่ละปัจจัยนั้นมีระดับของความสัมพันธ์ระหว่างกันเพียงใด นอกจากผลการวิจัยในครั้งนี้จะแสดงให้เห็นถึงระดับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างปัจจัยที่ทำการทดสอบ ผลการวิจัยยังช่วยสนับสนุนให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องโมเดลธุรกิจของวิสาหกิจอาหารขนาดเล็ก ซึ่งผู้ประกอบการด้านอาหารขนาดเล็กสามารถนำโมเดลธุรกิจอาหารใหม่นี้ไปปรับใช้ในตรวจสอบความพร้อมของกระบวนการในการดำเนินธุรกิจของตนเอง
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Otakanon, Burim, "A new business model for small food business in Thailand" (2019). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 8898.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/8898