Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกบริโภคอาหารของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเมืองเดปก ประเทศอินโดนีเซีย
Year (A.D.)
2019
Document Type
Thesis
First Advisor
Anuchit Phanumartwiwath
Second Advisor
Nutta Taneepanichskul
Faculty/College
College of Public Health Sciences (วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
Degree Name
Master of Public Health
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Public Health
DOI
10.58837/CHULA.THE.2019.472
Abstract
Background: Well-being in adulthood are originated from diet behaviour during adolescence. Recently, hurry-up lifestyle of adolescents leads to unusual food choice and results in overnutrition issues. So, the food choice is studied in order to improve the nutritional status of adolescents. Objectives: To explore food choice among high school students in Depok, Indonesia and identify its associated factors. Methods: A cross-sectional study, using online questionnaires through instant messaging, is conducted from April to May 2020. Food choice is observed through Food Choice Questionnaire (FCQ) and analysed using exploratory factor analysis (EFA). The questionnaires in this study were tested for validity and reliability. To examine the correlation between factors and food choice, a multiple linear regression is used. Results: Questionnaire responses from 433 high school students were collected. The response rate in this study is about 89.6% from all recorded responses (483 students) that is sorted by following inclusion criteria. According to characteristics of the respondents, it was found that mean of students’ age were 16 ± 0.91 years old. In nutritional status, it showed that overweight and obese students (z-score > 1 SD) were 14.1%. As for body image perception, only 38.8% students satisfied with their body image and 40% of them were wishing to be thinner. The EFA resulted five food choices in this study namely Health and religion, Price and convenience, Comfort, Weight control, and Familiarity. Among those food choices, students placed Health and religion as the most important one (mean= 3.11 ± 0.94). Physical activity was positively associated with Health and religion food choice (β = 0.306; p-value = 0.001) and Weight control food choice (β = 0.438; p-value < 0.001). Students who frequently accessed the medias, were more likely to choose their food based on price and convenience (β = 0.056; p-value = 0.010) and comfort value (β = 0.044; p-value = 0.042). Stipend given to the students was also positively associated with Comfort food choice (β = 0.018; p-value = 0.003). However, students who wishing to be fatter were less likely to consider weight control motive on their food choice (β = -0.297; p-value = 0.031). It was similar with nutrition knowledge that inversely associated with Familiarity food choice (β = -0.008; p-value = 0.047). Conclusion: High school students emphasised on their health when choosing their foods. The more active the students, the more they put importance on Health and religion as well as Weight control food choices. Also, knowledgeable students in nutrition were more likely to try different foods. Even so, those who were wishing to be fatter, put less importance on weight control motive. As media access and stipend play roles on comfort food choice, food production personnel are expected to enhance those food with more nutrient.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
บทนำ: สุขภาวะที่ดีของวัยผู้ใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริโภคในช่วงวัยรุ่น ในปัจจุบันนี้การใช้ชีวิตแบบเร่งรีบของวัยรุ่นนำไปสู่การบริโภคอาหารแบบไม่ปกติและส่งผลต่อปัญญาภาวะโภชนาการเกิน ดังนั้นการเลือกบริโภคอาหารถูกศึกษาเพื่อการปรับปรุงสภาวะโภชนาการของวัยรุ่น วัตถุประสงค์: เพื่อสำรวจการเลือกบริโภคอาหารของกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ณ เมืองเดปก ประเทศอินโดนีเซียและระบุถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการเลือกบริโภคอาหาร วิธีการทดลอง: วิธีการศึกษาแบบตัดขวางโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ผ่านระบบส่งข้อความแบบทันทีถูกศึกษาในระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม 2563 การเลือกบริโภคอาหารถูกสังเกตผ่านแบบสอบถามการเลือกบริโภคอาหารและถูกวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ แบบสอบถามทั้งหมดในการศึกษาครั้งนี้ถูกทดสอบสำหรับความถูกต้องและความน่าเชื่อ การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและการเลือกบริโภคอาหารได้ใช้วิธีการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการทดลอง: ได้ทำการเก็บแบบสอบถามจากการตอบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 433 คน โดยอัตราจากการตอบแบบสอบถามในการศึกษาครั้งนี้ประมาณร้อยละ 89.6 จากการตอบทั้งหมด (483 คน) ที่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกเข้าของกลุ่มตัวอย่าง สำหรับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ร่วมการศึกษาพบว่า อายุเฉลี่ยของนักเรียน คือ 16 ± 0.91 ปี ในส่วนของระดับโภชนาการได้แสดงถึงนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินและอ้วน (z-score > 1 SD) คิดเป็นร้อยละ 14.1 สำหรับการรับรู้ของภาพลักษณ์ทางร่างกาย พบว่าร้อยละ 38.8 ของนักเรียนพอใจกับภาพลักษณ์ทางร่างกายและร้อยละ 40 ของทั้งหมดต้องการผอมลง การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจให้ผลการเลือกบริโภคอาหาร 5 แบบสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ดังนี้ สุขภาพและศาสนา, ราคาและความสะดวก, ความสุขสบาย, การควบคุมน้ำหนัก และความคุ้นเคย ในท่ามกลางแบบการเลือกบริโภคอาหารเหล่านั้น นักเรียนให้ความสำคัญมากที่สุดกับสุขภาพและศาสนา (mean = 3.11 ± 0.94) ส่วนกิจกรรมทางกายภาพมีความเกี่ยวข้องเชิงบวกกับการเลือกบริโภคแบบสุขภาพและศาสนา (β = 0.306; p-value = 0.001) และการบริโภคอาหารแบบความควบคุมน้ำหนัก (β = 0.438; p-value < 0.001) นักเรียนผู้ที่เข้าถึงสื่อออนไลน์อย่างถี่มักเป็นไปได้มากที่จะเลือกอาหารของพวกเขาบนพื้นฐานของราคาและความสะดวก (β = 0.056; p-value = 0.010) และความสุขสบาย (β = 0.044; p-value = 0.042). เงินค่าใช้จ่ายของนักเรียนมีความเกี่ยวข้องเชิงบวกกับการเลือกบริโภคอาหารแบบความสุขสบาย (β = 0.018; p-value = 0.003). อย่างไรก็ตามนักเรียนผู้ที่มีความต้องการที่อ้วนขึ้นมักเป็นไปได้ที่จะเลือกเหตุจูงใจในการควบคุมน้ำหนัก (β = -0.297; p-value = 0.031) ซี่งคล้ายกับความรู้ด้านโภชนาการที่มีความเกี่ยวข้องเชิงลบกับการเลือกบริโภคแบบความคุ้นเคย (β = -0.008; p-value = 0.047) บทสรุป: นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายให้ความสำคัญกับสุขภาพเวลาเลือกการบริโภคอาหารของพวกเขา นักเรียนที่มีความคล่องแคล่วอย่างมาก พวกเขามักให้ความสำคัญอย่างมากกับการเลือกบริโภคอาหารแบบสุขภาพและศาสนาและเช่นเดียวกับการควบคุมน้ำหนัก สำหรับนักเรียนที่มีความรู้ทางโภชนาการมักเป็นไปได้ที่จะลองอาหารที่แตกต่างจากเดิม แม้ว่านักเรียนผู้ที่มีความต้องการที่อ้วนขึ้นให้ความสำคัญน้อยลงกับหตุจูงใจในการควบคุมน้ำหนัก สำหรับการเข้าถึงสื่อออนไลน์และเงินค่าใช้จ่ายได้กำหนดบทบาทเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารแบบความสุขสบาย บุคลากรการผลิตอาหารถูกคาดว่าจะเพิ่มการผลิตอาหารที่มีสารอาหารเพิ่มขึ้น
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Aqilah, Syarifah, "Factors associated with food choice among high school students in Depok, Indonesia" (2019). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 8848.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/8848