Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ผลของการใช้เชื้อเพลิงในการหุงต้มต่อการเพิ่มขึ้นของความหนาหลอดเลือดแดงคาโรติดที่ลำคอและภาวะครรภ์เป็นพิษในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในเมืองเนปิดอร์ ประเทศเมียนมา: การศึกษาไปข้างหน้าจากเหตุไปหาผล
Year (A.D.)
2019
Document Type
Thesis
First Advisor
Nutta Taneepanichskul
Faculty/College
College of Public Health Sciences (วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Public Health
DOI
10.58837/CHULA.THE.2019.461
Abstract
Fuels burned in households for cooking causes indoor air pollution. Exposure to pollutants emitted from burning cooking fuels poses a considerable risk for human health including preeclampsia through systemic inflammation process for which carotid intima-media thickness (CIMT) is an important surrogate arthrosclerosis biomarker. This study aimed to examine the association of cooking fuels use with increased maternal carotid intima-media thickness and preeclampsia among cooking pregnant women in Myanmar. A cohort study was conducted in Nay Pyi Taw Area, Myanmar from September 2019 to March 2020. A total of 192 pregnant women over 18 years with gestational weeks less than 18 at baseline were recruited by a purposive sampling from 15 rural health centers in Nay Pyi Taw, and 176 completed the follow-up. Based on the type of cooking fuels use, pregnant women were grouped as firewood user, charcoal user and electricity user. Sociodemographic data, residential data and fuels use data were collected with semi-structured questionnaires in face-to-face interviews. At baseline and at follow-up, anthropometry, hemodynamics, Complete Blood Count, blood lipids and ultrasound CIMT measurements were performed under standard protocols. Multivariate linear regression analysis was used to explore associations with adjustments for potential confounding factors. The results revealed that, after adjusting for pregnancy-related factors and factors related to CIMT, firewood use had a significant association with increase of all CIMT (combined mean CIMT, mean CIMT of the LCCA and mean CIMT of the RCCA). More specifically, a greater increase of mean CIMT of the right common carotid artery (RCCA; β=0.033mm; 95%CI: 0.006, 0.058; P<0.05) had significant association with charcoal use compared to firewood use (β=0.029mm; 95%CI: 0.010, 0.049; P<0.05). At follow-up, only charcoal use was significantly associated with increase of all CIMT; combined mean CIMT (β=0.035mm; 95%CI: 0.010, 0.060; P<0.05), mean CIMT of the LCCA (β=0.029mm; 95%CI: 0.004, 0.054; P<0.05) and mean CIMT of the RCCA (β=0.041mm; 95%CI: 0.012, 0.071; P<0.05). There was no significant association between firewood use and increased CIMT. Moreover, in firewood users, combined mean CIMT at baseline 0.42±0.05mm was reduced to 0.41±0.06 mm at follow-up (P=0.039) and mean CIMT of RCCA at baseline 0.43±0.06mm was decreased to 0.41±0.07mm at follow-up (P=0.008). CIMT levels of charcoal and electricity users at baseline and at follow-up remains unchanged (P>0.05). No significant association between fuels use and preeclampsia was found. In addition, there was no significant association between CIMT and preeclampsia in this study. Our findings demonstrate that the indoor use of cooking fuels that cause indoor air pollution, such as firewood and charcoal, is a considerable risks factor for human health and is associated with increased CIMT, wherein charcoal use was consistently associated with increase of CIMT. However, no association between fuels use and preeclampsia; and no association between CIMT and preeclampsia was found. Therefore, measures to prevent health risks related to the use of such fuels especially charcoal use should be instituted early on during pregnancy and beyond. Further studies to examine the exposure effects of pollution on acute and later health problems of women burning solid fuels in cooking are suggested.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
การใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือนก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศในบ้านเรือนผ่านการสัมผัสมลพิษซึ่งปลดปล่อยมาจากการใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงทางสุขภาพในมนุษย์รวมถึงภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์เป็นพิษ (pre-eclampsia) โดยทำให้เกิ ดความหนาตัวของผนังชั้นในและชั้นกลางของเส้นเลือดแดงแคโรทิด (carotid intima-media) ผ่านกระบวนการอักเสบทั่วทั้งร่างกายซึ่ง surrogate arthrosclerosis ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ทางชีวภาพที่สำคัญของการศึกษานี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการ ประกอบอาหารในครัวเรือนและภาวะความหนาตัวเพิ่มขึ้นของผนังชั้นในและชั้นกลางของเส้นเลือดแดงแคโรทิด (carotid intima-media) ในหญิงตั้ งครรภ์ รวมถึงการหาความสัมพันธ์ต่อภาวะตั้งครรภ์เป็นพิษ และภาวะความดันโลหิตสูงที่ในประเทศเมียนม่าร์ การศึกษานี้เป็นการศึกษาไปข้าง หน้าแบบจากเหตุไปหาผล (cohort study) ในเขตพื้นที่เนปยีดอ (Nay Pyi Taw) ประเทศเมียนม่าร์ในระหว่างเดือนกันยายน 2019 ถึงเดือนมีนาคม 2020 กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอายุมากกว่า 18 ปีที่มีอายุครรภ์มากกว่า 18 สัปดาห์ ณ จุดเริ่มต้นการศึกษาจำนวน 192 คน โดยกลุ่มตัวอย่างถูก เลือกจากศูนย์สุขภาพในเขตชนบท 15 แห่งในเขตพื้นที่ เนปยีดอ (Nay Pyi Taw) โดยเมื่อสิ้นสุดการศึกษามีกลุ่มตัวอย่างที่ยังอยู่ในการศึกษา ต่อเนื่องทั้งสิ้น 176 คน หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างถูกแบ่งตามชนิดของเชื้อเพลิงเผาไหม้ที่ใช้เพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือนเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มที่ใช้ฟืน, กลุ่มที่ใช้ถ่านและกลุ่มที่ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าประกอบอาหารในครัวเรือนการเก็บข้อมูลลักษณะพื้นฐานทางสังคมข้อมูลการพักอาศัยและข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้เชื้อเพลิงใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลด้วยวิธีสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวการเก็บข้อมูลกายภาพของร่างกาย, ข้อมูลเกี่ยวกับระบบไหลเวี ยนโลหิต, ข้อมูลการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง,ข้อมูลไขมันในเลือดและข้อมูลผลอัลตราซาวน์เพื่อวัด ภาวะความหนาตัวเพิ่มขึ้นขอ งผนังชั้นในและชั้นกลางของเส้นเลือดแดงแคโรทิด (CIMT) ที่จุดเริ่มต้นและระหว่างติดตามศึกษาและจัดเก็บข้อมูลภายใต้เกณฑ์วิธีมาตรฐานและศึ กษาความเกี่ยวข้องโดยปรับอิทธิพลของปัจจัยกวนด้วยวิธีวิเคราะห์หลายตัวแปร ผลการวิจัยพบว่าหลังจากปรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์แล ะปัจจัยที่เกี่ยวกับการตรวจ CIMT พบว่าที่จุดเริ่มต้นการศึกษาค่า CIMT ทุกชนิด (combined mean CIMT, mean CIMT of the LCCA และ mean CIMT of the RCCA ) ของหญิงที่ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของค่า (mean CIMT RCCA(RCCA; β=0.033 mm; 95%CI: 0.006, 0.058; P<0.05) ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาห ารเปรียบเทียบกับการใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหาร (β=0.029 mm; 95%CI: 0.010, 0.049; P<0.05) ในระหว่างการติดตามศึก ษาพบว่าเฉพาะการใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารเท่านั้นที่มีความเกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญกับการเพิ่มขึ้นของค่า CIMT ทุกชนิด (combined mean CIMT β=0.035 mm; 95%CI: 0.010, 0.060; P<0.05), mean CIMT of the LCCA (β=0.029 mm; 95%CI: 0.004, 0.054; P<0.05) and mean CIMT of the RCCA (β=0.041 mm; 95%CI: 0.012, 0.071; P<0.05). และไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญระหว่างการใช้ฟืนเป็นเ ชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารและการเพิ่มขึ้นของค่า CIMT ยิ่งไปว่านั้น ค่า CIMT ของหญิงตั้งครรภ์ที่ใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อ การประกอบอาหารและค่า CIMT ของหญิงตั้งครรภ์ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือนไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากจุดเริ่มต้น การศึกษาและในระหว่างการติดตามศึกษา อย่างไรก็ตามค่า combined mean CIMT ที่จุดเริ่มต้นการศึกษาเท่ากับ 42±0.05 mm ลดลงเป็น 0.41±0.06 mm ในระหว่างการติดตามศึกษา (P=0.039) และ mean CIMT of RCCA จุดเริ่มต้นการศึกษาเท่ากับ 0.43±0.06 mm ลดลงเป็น 0.41±0.07 mm ในระหว่างการติดตามศึกษา (P=0.008). ในการศึกษาครั้งนี้พบว่าไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารกับภาวะควา มดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง CIMT และภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าแห ล่งที่มาของเชื้อเพลิงที่ใช้เพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือนซึ่งเป็นสาเหตุของมลภาวะในอากาบ้าน, เป็นปัจจัยเสี่ยงซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภา พมนุษย์ และมีความเกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นของ CIMT อย่างไรก็ตามไม่มีความเกี่ยวข้องระหว่างเชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารและภาวะค วามดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ลและไม่มีความเกี่ยวข้องระหว่างCIMTและภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ดังนั้นการประเมินเพื่อป้องกันความเสี่ยงทางสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อประกอบอาหารในครัวเรือนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิงควรมีข้อกำหนดที่เหมาะสมทั้งสำหรับระหว่างตั้งครรภ์และทั้งในสภาวะอื่นๆและมีข้อเสนอแนะในการศึกษาในอนาคตเกี่ยวกับการสำรวจบผลเฉียบพลันและผลในระยะยาวของการสัมผัสมลภาวะในหญิงผู้ใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารในครัวเรือน
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Min, Myo, "Effect of cooking fuels use on increased maternal carotid intima media thickness and preeclampsia among self-cooking pregnant women in Nay Pyi Taw area, Myanmar: a cohort study" (2019). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 8837.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/8837