Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
Resistance against pipe jacking of Bangkok’s soft clay
Year (A.D.)
2021
Document Type
Thesis
First Advisor
ฐิรวัตร บุญญะฐี
Faculty/College
Faculty of Engineering (คณะวิศวกรรมศาสตร์)
Department (if any)
Department of Civil Engineering (ภาควิชาวิศวกรรมโยธา)
Degree Name
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
วิศวกรรมโยธา
DOI
10.58837/CHULA.THE.2021.923
Abstract
การก่อสร้างอุโมงค์ด้วยระบบดันท่อเป็นการก่อสร้างอุโมงค์ใต้ดินโดยไม่เปิดหน้าดิน แรงเสียดทานระหว่างดินและผิวภายนอกของท่อดันเป็นแรงต้านทานหลักที่ส่งผลต่อแรงดันรวมที่ต้องใช้ในการดันท่อ ดังนั้นการลดแรงเสียดทานโดยการฉีดสารหล่อลื่นจึงเป็นวิธีการที่นิยมใช้ในงานดันท่อ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมของดินรอบท่อดันนั้นจะส่งผลโดยตรงต่อการลดลงของแรงเสียดทานจากสารหล่อลื่น ในปัจจุบันวิธีการและขั้นตอนในการฉีดสารหล่อลื่นระหว่างการดันท่อนั้นเป็นไปอย่างไม่มีแบบแผน งานวิจัยฉบับนี้ได้ทำการทดลองเพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมที่แท้จริงของดินโดยรอบท่อดันที่เกิดขึ้นระหว่างการดันท่อ นำไปสู่การนำเสนอวิธีการและขั้นตอนการฉีดสารหล่อลื่นเพื่อให้การลดแรงเสียดทานมีประสิทธิผลสูงสุด วิธีการและขั้นตอนการฉีดสารหล่อลื่นที่ได้นำเสนอนั้นถูกนำไปทดสอบในการดันท่อทั้งหมด 2 ช่วงดัน โดยผลของการทดสอบแสดงให้เห็นถึงการลดลงของแรงเสียดทานมากถึง 45 เปอร์เซ็นต์เมื่อเปรียบเทียบกับการฉีดสารหล่อลื่นอย่างไม่มีแบบแผน
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
Pipe jacking is a trenchless process for laying of pipes. Successful pipe jacking requires a low skin friction resistance between jacked pipe and surrounding soil. This is accomplished with well-planned lubrication. However, the behavior of surrounding soil should be understood before applying any lubrication. This paper demonstrates the results of a series of experiment carried out to investigate the behavior of surrounding soil. The new approach for lubricant injection is introduced in this paper. In addition, two field cases were carefully selected to check out the capability of a new approach. As a result, the new approach represented a greater satisfaction up to 45 percent reduction of skin friction resistance comparing to the existing and prevalent method which is indicated that the new approach has higher efficiency.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
งามแสงรัตน์, ปัณฑ์, "แรงต้านทานต่อการดันท่อของชั้นดินเหนียวอ่อนในกรุงเทพฯ" (2021). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 5465.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/5465