Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การปรากฏร่วมของคำนามกับคำคุณศัพท์ในด้านการท่องเที่ยวในภาษาเยอรมัน: กรณีศึกษาคลังข้อมูลภาษาจากคำบรรยายสถานที่ในหนังสือนำเที่ยวประเทศไทย
Year (A.D.)
2020
Document Type
Thesis
First Advisor
Thanakon Kaewwipat
Faculty/College
Faculty of Arts (คณะอักษรศาสตร์)
Department (if any)
Department of Western Languages (ภาควิชาภาษาตะวันตก)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
German
DOI
10.58837/CHULA.THE.2020.237
Abstract
Die vorliegende Arbeit untersucht die Adjektiv-Substantiv-Kollokationen in Ortsbe-schreibungen in ausgewahlten Reisefuhrern uber Thailand. Hierbei handelt es sich um vier etablierte Reisefuhrer von vier Verlagen. Das Untersuchungskorpus umfasst insgesamt 446.580 Tokens und 38.824 Worttypen. Die Konkordanz-Software AntConc 3.5.8 wird zunachst fur die Herausfilterung einer Liste von Substantiven eingesetzt, die als Suchworter verwendet warden, wobei jedes Suchwort mindesten 100-mal im Korpus vorkommen muss. Aus 105 ausgewahlten Suchwortern warden schlieBlich 8.563 Adjektiv-Substantiv-Kollokationen ermittelt. Die Adjektiv-Substantiv-Kollokationen mit mindestens zwei Adjektivattributen werden nach Schmidts Typen der Attribuierungskomplikationen analysiert. Im Korpus lassen sich vier Typen von Attribuierungskomplikationen feststellen, namlich Koordination, Koordination mit Unterordnung, Gleichstufigkeit und Gleichstufigkeit mit Unterordnung. Der Attribuierungstyp "Gleichstufigkeit" mit zwei Attributen dominiert gegenuber den anderen Typen mit einer Auftretenshaufigkeit von 504-mal (39%) das Korpus. Weiterhin warden auf Grundlage semantischer Gesichtspunkte die Adjektivattribute in vier Gruppen einsortiert, von denen sich zwei in jeweils zwei Subkategorien unterteilen lassen, und zwar physikalische Eigenschaften, Herkunftsinformation (unterteilt in Zeitraum und Zugehorigkeit), geographische Lage, Wertung (unterteilt in asthetische Wertung und funktionale Wertung). Die haufigsten Adjektivattribute stamen aus der Gruppe "physikalische Eigenschaften" und ubernehmen beschreibende Funktion mit einer Auftretenshaufigkeit von 3.909-mal (53%), gefolgt von Adjektivattributen mit wertender Funktion aus der Subkategorie "asthetische Wertung" mit einer Vorkommens-haufigkeit von 1.309-mal (17%).
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการปรากฏร่วมของคำนามกับคำคุณศัพท์จากคำบรรยายสถานที่ในหนังสือนำเที่ยวประเทศไทยที่รวบรวมจากตัวบทหนังสือนำเที่ยวภาษาเยอรมันที่ได้รับการยอมรับจำนวน 4 เล่มจาก 4 สำนักพิมพ์ ซึ่งมีจำนวนคำทั้งสิ้น 446, 580 คำ (tokens) คิดเป็น 38,824 รูปคำ (types) ผู้วิจัยใช้โปรแกรม AntConc 3.5.8 เป็นเครื่องมือกรองรายการคำนามเพื่อใช้เป็นคำค้นหา โดยกำหนดให้แต่ละคำต้องมีความถี่ที่ปรากฏอย่างน้อย 100 ครั้งขึ้นไป จึงได้คำค้นหาเป็นจำนวนทั้งสิ้น 105 คำ เมื่อนำคำค้นดังกล่าวไปศึกษาคลังข้อมูลภาษาของงานวิจัย พบการปรากฏร่วมของคำนามกับคำคุณศัพท์ทั้งสิ้น 8,563 ครั้ง ผู้วิจัยได้ศึกษาโครงสร้างภายในของนามวลีที่มีคำขยายคุณศัพท์อยู่หน้าคำนาม 2 คำหรือมากกว่าตามแนวคิดเรื่อง "รูปแบบความซับซ้อนของการขยายคำนามในนามวลี (Attribuierungskomplikation)" ของ Schmidt (1993) ทั้งนี้ในคลังข้อมูลที่ศึกษาได้พบรูปแบบความซับซ้อนของการขยายคำนามในนามวลี 4 ลักษณะ ได้แก่ Koordination, Koordination mit Unterordnung, Gleichstufigkeit และ Gleichstufigkeit mit Unterordnung โดยรูปแบบความซับซ้อนฯ ที่ปรากฏมากที่สุดคือ Gleichstufigkeit เป็นจำนวน 504 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 39 ของโครงสร้างภายในของนามวลีที่ซับซ้อนข้างต้น หรือร้อยละ 5.9 ของการปรากฎร่วมของคำนามกับคำคุณศัพท์ที่พบในคลังข้อมูลภาษา นอกจากนี้ผู้วิจัยได้จัดกลุ่มความหมายของคำปรากฏร่วมออกเป็น 4 กลุ่ม แบ่งออกได้เป็น 6 กลุ่มย่อย ได้แก่ การบรรยายลักษณะทางกายภาพ การแสดงข้อมูลแหล่งที่มาทางยุคสมัยและความเป็นส่วนหนึ่ง การแสดงข้อมูลทำเลที่ตั้ง การประเมินคุณค่าทางสุนทรียภาพและทางหน้าที่ คำคุณศัพท์ที่ปรากฎมากที่สุดงานวิจัยมากจากกลุ่มการบรรยายลักษณะทางการภาพ ซึ่งจัดเป็นคำคุณศัพท์ที่ทำหน้าที่บรรยายเป็นจำนวน 3,909 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 53 ตามมาด้วยคำคุณศัพท์ที่ทำหน้าที่ประเมินคุณค่า กล่าวคือ การประเมินคุณค่าทางสุนทรียภาพ ทั้งหมด 1,309 ครั้ง เท่ากับร้อยละ 17 ของคำคุณศัพท์ทั้งหมดในคลังข้อมูลภาษา
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Plengplang, Suphichaya, "Adjektiv-substantiv-kollokationen im bereich des tourismus: eine korpusbasierte untersuchung am beispiel von ortsbeschreibungen in reiseführern über thailand" (2020). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 51.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/51