Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในประเทศไทย
Year (A.D.)
2021
Document Type
Thesis
First Advisor
Nutta Taneepanichskul
Faculty/College
College of Public Health Sciences (วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
Degree Name
Master of Public Health
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Public Health
DOI
10.58837/CHULA.THE.2021.340
Abstract
Particular Matter with diameter <2.5 microns or micrometers (a pollutant PM2.5) is highlighted as dangerous kind of pollutant in the worldwide. There were epidemiological studies reporting the harmful effects of PM2.5 in population due to the particle can lead various chronic diseases and premature deaths. The aim of this study is to assess the changes in health due to short- and long-term exposure and to provide the estimation attributed cases and proportion in the Thai population which could be avoid where the PM2.5 concentration reduce to the cut-off values that respected I collected data of PM2.5 concentration from 70 air monitoring stations of Pollution Department Control Thailand to indicate all provinces. For missing data, the values were calculated using the single imputation technique. The Ordinary Kriging Techniques were applied to construct the interpolations of PM2.5 concentration data for each district. I collected national health data including total number morbidity and mortality incidences related with negative effects from PM2.5 exposure in all provinces from Ministry of Public Health, Thailand. Total numbers of population all ages for specific province have been collected, where people ages >30 years old as population at risk on this study. This study presents all data that collected in 2019. Air Q+ Software is a tool that developed by World Health Organization, and it used to calculate the changes and health effects of air pollutant PM2.5 in population. All data were input to Air Q+ tool and the calculation parameters are based on epidemiological analysis. In 2019, Total population at risk or people ages >30 years old was 40,572,731 people or 60,957.6 per 100,000 population for 77 provinces in Thailand, where 60.98% from the total population for all ages. The range of daily PM2.5 concentration in 2019 for entwere provinces was between 1.28 and 229.52 ug/m3. The annual mean PM2.5 for national level was 24.14 μg/m3. Phra Nakhon Si Ayutthaya had high PM2.5 mean at 32.79 μm3 in 2019, followed by Ang Thong and Kalasin. The results from Air Q+ software estimated attributed proportion and cases in variation of cut-off values. All estimations indicate the reduction proportion and case that can be achieved if PM2.5 concentration meets the cut-off value. If the daily average in Thailand meets the targeted standard at 37.5 μg/m3 it can reduce around 2 per 100,000 population from the burden all short-term mortality cases in 2019. And, if the annual average in Thailand meets the targeted standard at 15 μg/m3 it can reduce around 82 per 100,000 population from the burden all long-term mortality cases in 2019. The result demonstrated the significant impacts of short- and long-term exposure of PM2.5 on Thai population. From this study, the estimations suggest the roadmap for policy maker and stakeholder to improve air pollution risk and management actions as the ways to protect population.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (พีเอม 2.5) เป็นหนึ่งในมลพิษอากาศที่มีความสำคัญที่สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ จากการศึกษาทางระบาดวิทยาก่อนหน้าได้มีการรายงานผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนต่อการเกิดโรคเรื้อรังและการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงการประเมินจำนวน และอัตราส่วนการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของประชากรไทยที่สามารถลดลงได้ เมื่อฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนลดลงถึงตามค่าต่างๆที่กำหนด ในการศึกษาครั้งนี้ได้รวบรวมข้อมูลคุณภาพอากาศฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ และใช้โมเดล kriging เพื่อทำนายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนในแต่ละจังหวัดในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2562–31 ธันวาคม 2562 ส่วนของข้อมูลการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตในการศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมจากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวนประชากรอายุมากกว่า 30 ปีในแต่ละจังหวัดได้ถูกนำมาใช้ในการศึกษาครั้งนี้ โปรแกรม Air Q+ ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัสมลพิษอากาศ ในปี 2562 จำนวนประชากรอายุมากกว่า 30 ปีเท่ากับ 40,572,731 หรือ 60,957.6 ต่อ 100,000 ประชากร ใน 77 จังหวัดของประเทศไทย ซึ่งคิดเป็น 60.98% ของกลุ่มประชากรทั้งหมด ค่าเฉลี่ยรายวันความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ระหว่าง 1.28 – 229.52 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ค่าเฉลี่ยรายปีของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนเท่ากับ 24.14 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน 32.79 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามด้วยจังหวัดอ่างทอง และกาฬสิทธิ์ จากการประเมินประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโปรแกรม Air Q+ พบว่าเมื่อลดค่ากำหนดลงจะส่งผลต่อการลดลงของจำนวน และอัตราส่วนการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของประชากรไทย เช่น เมื่อลดค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนลงเหลือ 37.5 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร พบว่าในผลกระทบระยะสั้นสามารถลดการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรลง 2 คนต่อ 100,000 ประชากร และผลกระทบระยะยาวเมื่อลดค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนลงเหลือ 15 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรจะสามารถลดการเสียชีวิตของประชากรลงได้ 82 คนต่อ 100,000 ประชากร จากผลการศึกษาพบว่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาวต่อประชากรไทย ผู้กำหนดนโยบายและผู้ที่เกี่ยวข้องควรร่วมกันพิจารณาแนวทางการจัดการการลดมลพิษอากาศเพื่อปกป้องสุขภาพของประชาชนต่อไปในอนาคต
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Hermayurisca, Friscilla, "The health impact assessment of particulate matter (PM 2.5) in Thailand" (2021). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 4882.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/4882