Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
Effect of Chemotherapy on Ovarian Function Following Hematologic Malignancy Treatment in Women of Reproductive Age at King Chulalongkorn Memorial Hospital
Year (A.D.)
2018
Document Type
Thesis
First Advisor
นภชาญ เอื้อประเสริฐ
Faculty/College
Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)
Department (if any)
Department of Medicine (ภาควิชาอายุรศาสตร์ (คณะแพทยศาสตร์))
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Discipline
อายุรศาสตร์
DOI
10.58837/CHULA.THE.2018.1518
Abstract
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลกระทบของยาเคมีบำบัดต่อภาวะที่รังไข่ไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ในผู้ป่วยมะเร็งทางโลหิตวิทยาหลังการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด วิธีการวิจัย ทำการศึกษาโดยการเก็บตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยเพศหญิงที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้วยโรคมะเร็งระบบโลหิตประกอบด้วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิลอยด์, มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน และมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน อายุ 18-40 ปี จำนวน 29 ราย เพื่อส่งตรวจระดับฮอร์โมน anti-Müllerian hormone(AMH), follicle-stimulating hormone(FSH), luteinizing hormone(LH) และ estradiol หลังหยุดการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดหรือปลูกถ่ายไขกระดูกที่ระยะเวลา 3, 6 และ 12 เดือนเทียบกับอาสาสมัครสุขภาพดีที่อายุเท่ากัน และผู้ป่วยตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบของประจำเดือนและอาการของภาวะหมดระจำเดือนก่อน ระหว่าง และหลังการได้รับยาเคมีบำบัด ผลการศึกษา ในผู้ป่วย 29 รายพบว่า ผู้ป่วยที่หยุดยาเคมีบำบัดตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไปมีจำนวน 21ราย พบว่าระดับ AMH ในกลุ่มผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ย 0.96 ± 0.98 นาโนกรัม/มิลลิลิตร เทียบกับกลุ่มอาสาสมัครมีค่าเฉลี่ย 3.78 ± 2.68 ng/mL นาโนกรัม/มิลลิลิตร ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) เช่นเดียวกับระดับ FSH โดยในกลุ่มผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ย 23.91 ± 37.96 ยูนิต/ลิตรและในกลุ่มผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ย 4.90 ± 3.96 ยูนิตต่อลิตร (p=0.03) ในขณะที่ฮอร์โมนอื่นไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในกลุ่มผู้ป่วยหลังหยุดยาเคมีบำบัดที่ 3 และ 6 เดือนพบว่าได้จำนวนประชากรน้อยเกินไปซึ่งจะไม่แสดงผลการศึกษา ในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกจะมีระดับ AMH ต่ำว่าผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) ผู้ป่วย 17 ใน 21 รายมีการเปลี่ยนแปลงของประจำเดือน โดย 6 รายที่ไม่มีประจำเดือนเลย หลังหยุดยาเคมีบำบัด ผู้ป่วย 4 รายไม่มีประจำเดือนอีกเลย ซึ่ง 4 รายนี้เป็นผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายไขกระดูก สรุป ระดับฮอร์โมน AMH และ FSH มีความไวในการประเมินการทำงานของรังไข่ในผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตหลังได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดและการปลูกถ่ายไขกระดูก ในขณะที่ระดับของ estradiol และ LH จะเปลี่ยนแปลงเฉพาะในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกเท่านั้น
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
Objective to evaluate female reproductive functions after chemotherapy. The impacts of treatment on menstruation and perimenopausal symptoms were also assessed. Method We measured the serum AMH, estradiol, follicle-stimulating hormone (FSH) and luteinizing hormone (LH) levels in 29 reproductive-aged women with hematologic malignancies, including Hodgkin lymphoma, non-Hodgkin lymphoma and acute myeloid leukemia, after the last course of chemotherapy or hematopoietic stem cell transplantation (HSCT) compared with those of 29 age-matched healthy females. The hormone assays were performed at 3, 6 and more than 12 months after the end of treatment. The AMH levels at over 12 months were the primary outcome. Questionnaires about changes of menstruation and postmenopausal symptoms were completed by patients at the 12th months of study. Results Twenty-nine patients diagnosed hematologic malignancies were included. The hormone levels at over 12 months after treatment were performed in 21 patients. The AMH levels at over 12 months in the patient group were significantly lower than those of the control group (0.96 ± 0.98 vs. 3.78 ± 2.68 ng/mL, P < 0.01). Other hormone levels were not significantly different between the patient group and the control group. There was too small sample size to analyzed in patient group at 3 and 6 months after the end of treatment. Among 21 patients with available hormonal data, 17 patients had decreased (6) or absent (11) menstruation during treatment. Normal menstrual cycles returned in 13 patients, while 4 patients underwent HSCT remained permanent amenorrhea. Conclusion AMH and FSH levels were sensitive marker to determine an ovarian reserve in hematologic malignancy patients after chemotherapy and HSCT. Estradiol, FSH and LH levels were substantially changed only in patients undergoing HSCT.
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
จินตบัญญัติ, อโณทัย, "ผลกระทบของยาเคมีบำบัดต่อการทำงานของรังไข่ในสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ได้รับการรักษามะเร็งระบบโลหิตในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์" (2018). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 3649.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/3649