Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การศึกษาเส้นประสาทและหลอดเลือดบริเวณใบหน้าส่วนบนสำหรับหัตถการเสริมความงามของใบหน้าส่วนบน
Year (A.D.)
2018
Document Type
Thesis
First Advisor
Tanvaa Tansatit
Faculty/College
Faculty of Medicine (คณะแพทยศาสตร์)
Department (if any)
Department of Medicine (ภาควิชาอายุรศาสตร์ (คณะแพทยศาสตร์))
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Medicine
DOI
10.58837/CHULA.THE.2018.361
Abstract
The study of nerves and arteries of upper face for avoiding injury during the forehead lift procedure was conducted to investigate the anatomical landmark and histological plane of the nerve and artery of the upper face for reduce some injuries during a consequence of forehead lift procedure. Thirty adult soft embalmed cadaveric head were dissected. The distances between the frontal branches of the facial nerve and the mid-point of zygomatic arch, lateral canthus and lateral brow were 10.52±2.41, 39.82±7.09 and 24.10±8.92 mm, respectively. The distances between the superficial temporal artery the mid-point of zygomatic arch, lateral canthus and lateral brow were 61.72±14.09, 65.79±5.99 and 60.45±3.64 mm, respectively. For the supratrochlear and supraorbital nerve and artery, measured the distance from the nerves and arteries pierced through the frontalis muscle. The distances between the point that supratrochlear nerve and artery pierced through the muscle and the midline and orbital rim were 20.20±5.04, 22.93±5.28, 13.64±2.2 and 18.24±6.55 mm, respectively. The point that supraorbital nerve and artery pierced through the muscle locate from the midline and the orbital rim about 38.22±8.92, 27.07±7.35, 37.55±9.76 and 26.14±8.78 mm, respectively. Precise information of this study can help to reduce for reduce some injuries during the consequence of forehead lift procedure.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
การศึกษาเส้นประสาทและหลอดเลือดบริเวณใบหน้าส่วนบนเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ ระหว่างการทำหัตถการดึงกระชับใบหน้าส่วนบน เพื่อศึกษาตำแหน่งอ้างอิงทางกายวิภาคศาสตร์ และระนาบของเส้นประสาทและหลอดเลือดบริเวณใบหน้าส่วนบนสำหรับการทำหัตถการดึง กระชับใบหน้าส่วนบนเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บของเส้นประสาทและหลอดเลือดบริเวณใบหน้า ส่วนบน การศึกษาครั้งนี้ทำการศึกษาตำแหน่งและลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ที่สัมพันธ์กับ ตำแหน่งอ้างอิงบนผิวหนังรวมทั้งความลึกจากระดับผิวหนัง โดยทำการศึกษาในใบหน้าส่วนบนของ อาจารย์ใหญ่จำนวน 30 หน้า พบว่า ตำแหน่งของแขนง frontal ของเส้นประสาท facial เมื่อ เทียบกับจุดกึ่งกลางของ zygomatic arch หางตาและหางคิ้ว มีค่าเท่ากับ 10.52±2.41, 39.82±7.09 และ 24.10±8.92 มิลลิเมตร ตามลำดับ ส่วนระยะทางระหว่างหลอดเลือด superficial temporal กับจุดกึ่งกลางของ zygomatic arch หางตาและหางคิ้ว มีค่าเท่ากับ 61.72±14.09, 65.79±5.99 และ 60.45±3.64 มิลลิเมตร ตามลำดับ สำหรับเส้นประสาทและ หลอดเลือด supratrochlear และ supraorbital นั้น ทำการศึกษาระยะทางระหว่างจุดที่ เส้นประสาทและหลอดเลือดแทงทะลุผ่านกล้ามเนื้อ frontalis พบว่า จุดที่เส้นประสาทและหลอด เลือด supratrochlear แทงทะลุผ่านกล้ามเนื้อเมื่อวัดจากเส้นกึ่งกลางใบหน้าและขอบตาบน มีค่า เท่ากับ 20.20±5.04, 22.93±5.28, 13.64±2.2 และ 18.24±6.55 มิลลิเมตร ตามลำดับ สำหรับ เส้นประสาทและหลอดเลือด supraorbital จุดที่เส้นประสาทและหลอดเลือด supraorbital แทง ทะลุผ่านกล้ามเนื้อเมื่อวัดจากเส้นกึ่งกลางใบหน้าและขอบตาบน มีค่าเท่ากับ 38.22±8.92, 27.07±7.35, 37.55±9.76 และ 26.14±8.78 มิลลิเมตร ตามลำดับ โดยข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ น่าจะมีประโยชน์ในการลดโอกาสการเกิดการบาดเจ็บต่อเส้นประสาทและหลอดเลือดในระหว่าง การทำหัตถการดึงกระชับใบหน้าส่วนบน
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Chinnawong, Dawinee, "The study of nerves and arteries of upper face: implication for cosmetic procedures" (2018). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 2492.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/2492