Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ผลของการใช้วัสดุทดแทนกระดูกชนิดไบฟาซิคแคลเซียมฟอสเฟตของไทยสำหรับการเสริมกระดูกในงานทันตกรรมรากฟันเทียม
Year (A.D.)
2022
Document Type
Thesis
First Advisor
Atiphan Pimkhaokham
Faculty/College
Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Dental Biomaterials Science
DOI
10.58837/CHULA.THE.2022.1307
Abstract
Aims: The aim of this randomized, double-blind, clinical trial was to compare the stability of the horizontal dimensions (facial bone thickness) of augmented bone using Biphasic Calcium Phosphate (BCP) with hydroxyapatite/ β-tricalcium phosphate ratio of either 60/40 or 70/30. Materials and Methods: Sixty dental implants placed with contour augmentation in the esthetic zone were randomized to 60/40 BCP (n=30) or 70/30 BCP (n=30). Cone-Beam Computed Tomographic was used to assess facial bone thickness post-implantation and 6 months later at implant platform and 2, 4, and 6 mm apical to it. Results: The percentage of horizontal dimension reduction was 23.64%, 12.83%, 9.62% and 8.21% in 70/30 BCP group, while 44.26%, 31.91%, 25.88% and 21.49% in 60/40 BCP group at the level of the implant platform and 2, 4, 6 mm apical, respectively. Statistically significant difference was found at 6 months at all levels of measurement (p-value
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
จุดประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบเสถียรภาพของกระดูกที่เสริมในแนวระนาบ (ความหนาของกระดูกด้านใบหน้า) ด้วยกระดูกไบฟาซิคแคลเซียมฟอสเฟต ระหว่างสัดส่วนไฮดรอกซีอะพาไทต์และไตรแคลเซียมฟอสเฟต 60/40 และ 70/30 โดยศึกษาวิจัยทางคลินิกแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมที่มีการปกปิดสองทาง วัสดุและวิธีการ: รากฟันเทียมจำนวน 60 ซี่ที่ผ่าตัดร่วมกับการเสริมกระดูกในบริเวณที่เน้นความสวยงาม ได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มกระดูกไบฟาซิคแคลเซียมฟอสเฟตสัดส่วน 60/40 (30 ซี่) หรือ 70/30 (30 ซี่) เพื่อประเมินความหนาของกระดูกด้านใบหน้าทันทีหลังผ่าตัดฝังรากฟันเทียมและที่ระยะเวลา 6 เดือนหลังผ่าตัด โดยถ่ายภาพรังสีแบบสามมิติชนิดโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี ที่ระดับบ่าของรากฟันเทียมและต่ำกว่าบ่าของรากฟันเทียม 2 4, 6 มิลลิเมตร ผลการศึกษา: กระดูกที่เสริมในแนวระนาบมีการลดขนาดลง 23.64%, 12.83%, 9.62% และ 8.21% ในกลุ่มสัดส่วน 70/30 เทียบกับ 44.26%, 31.91%, 25.88% และ 21.49% ในกลุ่ม 60/40 BCP ที่ระดับบ่าของรากเทียมและต่ำกว่าบ่าของรากฟันเทียม 2 4, 6 มิลลิเมตรตามลำดับ โดยถือว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 6 เดือนที่ทุกระดับของการวัด สรุป: การผ่าตัดฝังรากฟันเทียมร่วมกับการเสริมกระดูกด้วยกระดูกไบฟาซิคแคลเซียมฟอสเฟตที่มีสัดส่วนไฮดรอกซีอะพาไทต์และไตรแคลเซียมฟอสเฟต 60/40 และ 70/30 ให้ผลการรักษาที่ใกล้เคียงกัน โดยสัดส่วน 70/30 นั้นให้ผลที่ดีกว่าในแง่ของการคงความหนาของกระดูกด้านใบหน้าและเสถียรภาพของกระดูกที่เสริมในแนวระนาบ
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Arunjaroensuk, Sirida, "The outcomes of using Thai Biphasic Calcium Phosphate for bone augmentation in implant dentistry" (2022). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 11018.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/11018