Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

Effects of health education learning management using reflective thinking on learning achievement and concept of non – cognitive skills of sencondary school students

Year (A.D.)

2022

Document Type

Thesis

First Advisor

สริญญา รอดพิพัฒน์

Faculty/College

Faculty of Education (คณะครุศาสตร์)

Department (if any)

Department of Curriculum and Instruction (ภาควิชาหลักสูตรและการสอน)

Degree Name

ครุศาสตรมหาบัณฑิต

Degree Level

ปริญญาโท

Degree Discipline

สุขศึกษาและพลศึกษา

DOI

10.58837/CHULA.THE.2022.991

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและทักษะทางพฤติกรรมก่อนและหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองและของนักเรียนกลุ่มควบคุม และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและทักษะทางพฤติกรรมหลังการทดลองระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองกับนักเรียนกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 50 คน สุ่มแบบแบ่งกลุ่มโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 25 คน กลุ่มควบคุม 25 คน ใช้เครื่องมือ แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาโดยใช้การสะท้อนคิด จำนวน 8 แผน มีค่าดัชนีความสอดคล้องรวม 0.78 และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ เจตคติ การปฏิบัติ และทักษะทางพฤติกรรม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80, 0.85, 0.91 และ 0.95 มีค่าความเที่ยง 0.73, 0.80, 0.80 และ 0.79 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ เจตคติ การปฏิบัติ และทักษะทางพฤติกรรมด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่า การจัดเรียนรู้สุขศึกษาโดยใช้การสะท้อนคิด ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะทางพฤติกรรมของนักเรียนมัธยมศึกษา

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

The purpose of this research To compare mean scores of learning achievement and non – cognitive skills and after implementation of an experimental group and a control group, and to compare mean scores of learning achievement and non – cognitive skills after implementation between the experimental group and the control group. The subjects were 50 eight grade students, Student 25 of the experimental group and 25 of the control group. The research instruments were comprised of 8 health education lesson plans using reflective with an IOC of 0.78 and the data collection instruments included learning achievement in the area of knowledge, attitude, practice and non – cognitive skills with an IOC of 0.80, 0.85, 0.91 and 0.95, reliabilities of 0.73, 0.80, 0.80 and 0.79 The duration of the experiment was 8 weeks. Data were analyzed by mean, standard deviation and t-test (Paired Sample t-test, Independent Sample t-test). Conclusion: Health education learning management using reflective thinking affects learning achievement and non – cognitive skills.

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.