Abstract
รสูญเสียการได้ยินเท่านั้น ซึ่งในปัจจุบันพบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของเด็กทารกแรกเกิดที่สูญเสียการได้ยินไม่มีปัจจัยเสี่ยงใด ๆ จึงเป็นที่มาของโปรแกรมการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดซึ่งจะช่วยให้การตรวจหาการสูญเสียการได้ยินทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อจะได้ช่วยกระตุ้นการได้ยินและแก้ไขป้องกันสาเหตุของการสูญเสียการได้ยินในกรณีที่ทำได้ เช่น รักษาการติดเชื้อไวรัส CMV,ป้องกัน ภาวะ rupture of enlarged vestibular aqueductทารกปกติควรได้รับการตรวจ otoacoustic emission (OAE) ทุกราย ส่วนเด็กทารกใน NICUควรตรวจ OAE ร่วมกับ automated auditory brainstem response (AABR) เพื่อคัดกรองหาการสูญเสียการได้ยิน และภาวะ auditory neuropathy spectrum disorder ซึ่งพบได้สูงในเด็กกลุ่มนี้หลังจากได้รับการคัดกรองแล้ว เด็กที่มีความผิดปกติควรได้รับการตรวจ full ABR ด้วย Tonepipor Narrow band Chirp เพื่อประเมินระดับการได้ยินของทารกอย่างแม่นยำ อันจะนำมาซึ่งการกระตุ้นพัฒนาการ และช่วยเหลือทางการได้ยินที่เหมาะสม.
DOI
10.58837/CHULA.CMJ.59.1.4
First Page
37
Last Page
46
Recommended Citation
อุทุมพฤกษ์พร, นัตวรรณ and ภทรภักดิ์, เสาวรส
(2015)
"การตรวจคัดกรองการได้ยินในเด็กทารกแรกเกิด,"
Chulalongkorn Medical Journal: Vol. 59:
Iss.
1, Article 4.
DOI: https://doi.org/10.58837/CHULA.CMJ.59.1.4
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/clmjournal/vol59/iss1/4