Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การสังเคราะห์ ดัดแปลง และการประยุกต์ใช้ซิลิกานาโนพาทิเคิลในฐานฟันปลอมพอลิเมทิลเมทาคริเลต
Year (A.D.)
2017
Document Type
Thesis
First Advisor
Mansuang Arksornnukit
Faculty/College
Faculty of Dentistry (คณะทันตแพทยศาสตร์)
Department (if any)
Department of Prosthodontics (ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Discipline
Prosthodontics
DOI
10.58837/CHULA.THE.2017.462
Abstract
This study aimed to investigate amount of γ-methacryloxypropyltrimethoxysilane (MPS) silanized on experimental nanosilica particles (NPs), amount of NPs and amount of MPS silanized NP on flexural strength (FS), flexural modulus (FM), and fracture toughness (FT) of NP reinforced polymethymethacrylate (PMMA). The chemisorbed amount of MPS was determined using elemental analysis. Six groups (n=8) were prepared with chemisorbed amount and mixed with PMMA-monomer to make 0.25, 0.5, 1, 5, 10 and 15% (w/w) of NP reinforced PMMA. PMMA without NP served as control. Seven groups (n=8) were prepared with 1% of NPs silanized with 0, 0.061, 0.123, 0.246, 0.493, 0.987, and 1.974 gMPS/gsilica and mixed with PMMA-monomer to make NPs reinforced PMMA. FS, FM, and FT were determined using 3-point bending test. One-way ANOVA and multiple comparisons showed that 0.246 gMPS/gsilica of 1% amount of silanized NP group was significantly highest in FS, FM, and FT compared to the others (p<0.05).
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณการดูดซับทางเคมีของสารคู่ควบ แกมมาเมทาคริลอกซีโพลพิลไตรเมทอกซี (เอ็มพีเอส) บนพื้นผิวซิลิกานาโนพาทิเคิล และศึกษาหาปริมาณซิลิกานาโนพาทิเคิล ปริมาณสารคู่ควบเอ็มพีเอสที่ใช้ในการดัดแปลงซิลิกานาโนพาทิเคิล ว่ามีผลต่อค่าความแข็งแรง โมดูลัส และค่าความแข็งแกร่ง ในวัสดุฐานฟันปลอมที่ผ่านการเสริมแรงด้วยซิลิกานาโนพาทิเคิลที่ถูกดัดแปลงอย่างไร ปริมาณสารควบคู่เอ็มพีเอสบนพื้นผิวซิลิกานาโนพาทิเคิล จะถูกวัดด้วยกระบวนการวิเคราะห์หาปริมาณธาตุ ตอนแรกแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ชิ้นตัวอย่าง โดยใช้ซิลิกานาโนพาทิเคิล ที่ผ่านการดัดแปลงพื้นผิวด้วยสารคู่ควบเอ็มพีเอส จะถูกผสมเข้าไปในโมโนเมอร์ของวัสดุทำฐานฟันปลอมด้วยสัดส่วน 0.25 0.5 1 5 10 และ 15% โดยปริมาตร กลุ่มที่ไม่มีซิลิกานาโนพาทิเคิลที่ผ่านการดัดแปลง จะเป็นกลุ่มควบคุม ในตอนที่สอง แบ่งกลุ่มทดลองเป็น7กลุ่ม กลุ่มละ 8 ตัวอย่าง โดยแต่ละกลุ่มจะเสริมแรงซิลิกานาโนพาทิเคิลที่ผ่านการดัดแปลงสภาพพื้นผิวด้วยปริมาณสารคู่ควบที่ต่างกันดังนี้ 0 0.061 0.123 0.246 0.493 0.987 และ 1.974 กรัมเอ็มพีเอสต่อซิลิกานาโนพาทิเคิลหนึ่งกรัม นำไปผสมในโมโนเมอร์ของฐานฟันปลอม โมโนเมอร์ในทุกกลุ่มจะถูกนำไปใช้ในการขึ้นรูปฐานฟันปลอม ค่าความแข็งแรงดัดขวาง ค่าโมดูลัส และค่าความแข็งแกร่ง จะถูกทดสอบด้วยเครื่องทดสอบแบบสากล การวิเคราะห์ผลด้วยความแปรปรวนแบบทางเดียวและการเปรียบเทียบพหุคูณพบว่า กลุ่มที่ใช้ปริมาณสารคู่ควบเอ็มพีเอส 0.246 กรัมเอ็มพีเอสต่อซิลิกานาโนพาทิเคิลหนึ่งกรัม และปริมาณซิลิการนาโนพาทิเคิล 1 % โดยมวล จะให้ค่าความแข็งแรงดัดขวาง ค่าโมดูลัส และค่าความแข็งแกร่งที่สูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
jiangkongkho, Pornpot, "The synthesis, modification and application of silica nanoparticles in polymethyl methacrylate denture base" (2017). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 952.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/952