Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

ธรณีแปรสัณฐานยุคใหม่และแผ่นดินไหวบรรพกาลตามแนวรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน ภาคเหนือของประเทศไทย

Year (A.D.)

2019

Document Type

Thesis

First Advisor

Sukonmeth Jitmahantakul

Second Advisor

Punya Charusiri

Faculty/College

Faculty of Science (คณะวิทยาศาสตร์)

Department (if any)

Department of Geology (ภาควิชาธรณีวิทยา)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Geology

DOI

10.58837/CHULA.THE.2019.240

Abstract

Mae Hong Son Fault (MHSF) is a north-south-trending active fault in Northern Thailand. Last earthquake occurred on February, 1975 with a magnitude of 5.6 at Ban Tha Song Young in Tak Province. This study aims to describe morphological characteristics of MHSF using high (12.5m) resolution Digital Elevation Model (DEM) and to evaluate paleoearthquake magnitudes, recurrence intervals, and slip rates of MHSF by excavating paleoearthquake trenches. According to morphotectonic analysis, offset streams, linear valleys, triangular facets and scarplets were formed as a result of dextral movement within the active fault zone. There are two separate basins associated with the MHSF, which include the Mae Hong Son Basin to the north and the Mae Sariang Basin the south. Between these basins, fault displacements decrease towards Khun Yuam area suggesting a linkage zone in the Mae Hong Son strike-slip fault systems. Surface rupture length investigation from fault segments in both basins indicates maximum credible earthquake between M5.8 - M6.3. Nine paleoearthquake events were identified in Mae Hong Son Province based on trenching and road-cut outcrop studies, and optically stimulated luminescence (OSL) dating. The OSL ages of the events are 78,000, 68,000, 58,000, 48,000, 35,000, 30,000, 25,000, 8,000 and 3,000 years ago. The recurrence interval of earthquake events on the MHSF appears to be ca. 5,000 years, and the slip rate was estimated as ca. 0.04–0.15 mm/yr.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

การศึกษาแผ่นดินไหวบรรพกาลของรอยเลื่อนมีพลังได้นำมาใช้ในการศึกษาบริเวณพื้นที่แม่ฮ่องสอน ภาคเหนือประเทศไทย จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวทางตอนใต้ของจังหวัดแม่ฮ่องสอนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ขนาด 5.6 บริเวณบ้านท่าสองยาง จังหวัดตาก แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บริเวณนี้ยังคงมีพลังจนถึงปัจจุบัน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายธรณีวิทยาแปรสัณฐานของรอยเลื่อน พฤติกรรมการเลื่อนตัว ตลอดจนบ่งชี้อายุการเลื่อนตัวครั้งล่าสุดของรอยเลื่อน ระบุคาบอุบัติซ้ำของการเกิดแผ่นดินไหวบรรพกาลและอัตราการเลื่อนตัวของรอยเลื่อน จากข้อมูลโทรสัมผัสและการขุดร่องสำรวจแผ่นดินไหวบรรพกาล ผลการศึกษาพบว่ารอยเลื่อนแม่ฮ่องสอนเป็นรอยเลื่อนที่วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ พาดผ่านพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดตากบางส่วน แสดงลักษณะการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนแบบขวาเข้าประกอบกับรอยเลื่อนปกติ พบลักษณะธรณีสัณฐานที่สัมพันธ์กับรอยเลื่อน ได้แก่ธารเหลื่อม หุบเขาเส้นตรง สันเขาเหลื่อม และผารอยเลื่อน จากการแปลความหมายทางธรณีแปรสัญฐานและการวิเคราะห์ทางแอ่งสะสมตะกอน พบว่าพื้นที่แม่ฮ่องสอนประกอบด้วยสองแอ่งสะสมตะกอน ได้แก่ แอ่งแม่ฮ่องสอนทางตอนเหนือและแอ่งแม่สะเรียงทางตอนใต้ โดยพื้นที่ระหว่างสองแอ่งสะสมตะกอนนี้คือ โซนรอยต่อขุนยวม เป็นพื้นที่สูงที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนตามแนวระดับ จากค่าความยาวรอยแตกปรากฏบนพื้นผิว สามารถเกิดแผ่นดินไหวขนาดสูงสุดระหว่าง 5.8 และ 6.3 ผลการหาอายุโดยวิธีเรืองแสงด้วยความร้อนของชั้นตะกอนในร่องสำรวจที่สัมพันธ์กับรอยเลื่อน บ่งชี้ว่าเคยเกิดแผ่นดินไหวมาแล้ว 9 ครั้ง เมื่อประมาณ 78,000, 68,000, 58,000, 48,000, 35,000, 30,000, 25,000, 8,000 และ 3,000 ปี มีคาบอุบัติซ้ำประมาณ 5,000 ปี และอัตราการเลื่อนตัวประมาณ 0.04-0.15 มิลลิเมตรต่อปี

Included in

Geology Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.