Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
ผลกระทบของปัจจัยทางเศรษฐกิจและประชากรต่อความไม่เท่าเทียมกันของรายได้: กรณีศึกษาเปรียบเทียบของประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และลาตินอเมริกา
Year (A.D.)
2021
Document Type
Independent Study
First Advisor
Yot Amornkitvikai
Faculty/College
College of Population Studies (วิทยาลัยประชากรศาสตร์)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Population Policy and Human Development
DOI
10.58837/CHULA.IS.2021.107
Abstract
Despite rapid economic growth, Southeast Asia and Latin America continue to have significant income inequality. This study applies fixed-effects regression estimation with the dynamic panel model with lagged independent variables and the fixed-effects analysis with endogenous covariates to examine the impact of economic and demographic factors on income inequality in 6 Southeast Asian and 15 Latin American countries from 1994 to 2017. Empirical results indicate that emissions, trade openness, old-age dependency ratio, human capital, and female population reduce income inequality, whereas industrialization, unemployment, young-age dependency ratio, and urban population increase income inequality in Southeast Asian countries. This study also finds evidence of the Kuznets curve hypothesis. In addition, industrialization, trade openness, population growth, and human capital reduce income inequality, whereas unemployment, young-age dependency ratio, old-age dependency ratio, and foreign direct investment increase income inequality in Latin American countries. This study also finds evidence of the U-shaped curve hypothesis. This study provides a more comprehensive theoretical framework to investigate income inequality from economic and demographic perspectives, where population growth, urban population, population structure, human capital, and the female population are essential components.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และละตินอเมริกาประสบกับการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา แม้จะมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่ภูมิภาคทั้งสองนี้ก็ยังคงมีความเหลื่อมล้ำทางรายได้อย่างมีนัยสำคัญ มีทฤษฎีต่าง ๆ ที่บ่งบอกถึงการนำไปสู่ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ แต่ก็ยังไม่มีข้อชี้ชัดว่าทฤษฎีใดมีความเกี่ยวข้องมากที่สุด การศึกษานี้ใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยอิทธิพลคงที่สำหรับแบบจำลองแผงไดนามิกที่มีตัวแปรอิสระล้าหลัง และวิธีการวิเคราะห์ถดถอยอิทธิพลคงที่สำหรับการประมาณค่าด้วยตัวแปรร่วมภายใน เพื่อตรวจสอบผลกระทบของปัจจัยทางเศรษฐกิจและประชากรต่อความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ใน 6 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ 15 ประเทศในละตินอเมริกาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2537 ถึง พ.ศ. 2560 อีกทั้งการศึกษานี้ยังสำรวจกลุ่มที่ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ รวมทั้งปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการประมาณที่แม่นยำยิ่งขึ้น ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ระบุว่าการปล่อยมลพิษ การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ อัตราส่วนการพึ่งพาวัยชรา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และประชากรเพศหญิง เหล่านี้ช่วยลดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ในขณะที่ การพัฒนาอุตสาหกรรม การว่างงาน อัตราส่วนการพึ่งพิงวัยเด็ก และความเป็นเมือง เพิ่มความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การศึกษานี้ยังพบหลักฐานของสมมติฐานเส้นโค้ง Kuznets นอกจากนี้ การพัฒนาอุตสาหกรรม การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ การเติบโตของจำนวนประชากร และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ช่วยลดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ ในขณะที่การว่างงาน อัตราส่วนการพึ่งพิงวัยเด็ก อัตราส่วนการพึ่งพิงวัยชรา และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ เพิ่มปัญหาความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศแถบละตินอเมริกา การศึกษานี้ยังพบหลักฐานของสมมติฐานเส้นโค้งรูปตัวยู Kuznets การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการกำหนดความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ การศึกษานี้จึงให้กรอบทฤษฎีที่ครอบคลุมมากขึ้นเพื่อตรวจสอบความไม่เท่าเทียมกันของรายได้จากมุมมองของเศรษฐศาสตร์และประชากรศาสตร์ โดยที่การเติบโตของประชากรในเมือง (ความเป็นเมือง) โครงสร้างประชากร การพัฒนาทุนมนุษย์ และประชากรเพศหญิง เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Mamun, Muhammad Syukron, "The impact of economic and demographic factors on income inequality: a comparative study of Southeast Asian and Latin American countries" (2021). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 7723.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/7723