Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Development of low cost biodegradable polyurethane packaging material

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การพัฒนาบรรจุภัณฑ์โพลียูรีเทนราคาต่ำที่สลายตัวได้ทางชีวภาพ

Year (A.D.)

1996

Document Type

Thesis

First Advisor

Kroekchai Sukanjanajtee

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

Master of Engineering

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Chemical Engineering

DOI

10.58837/CHULA.THE.1996.2162

Abstract

A low cost package cushioning material of polyurethane which is biodegradable was developed in this work. The raw materials were locally available and biodegradable, i.e. molasses, husk, and sawdust. The effect on properties of polyurethane products by the following variables, i.e. the quantity of molasses, and type and quantity of fillers, were studied. It was found that increasing molasses and fillers content would give higher compressive strength products. The suitable composition for packaging depend on its duty. For light duty, % molasses of 20 filled with 9 % of either husk or sawdust is suitable, and % molasses of 35 filled with 3.5% of husk is suitable for heavy duty.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับใช้เป็นวัสดุกันกระแทกในระหว่างการขนส่ง จากโพลียูรีเทนที่มีราคาประหยัดและสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ โดยใช้วัตถุดิบและสารเติมแต่งที่มีราคาต่ำ หาได้ในประเทศ และสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ คือ โมลาส แกลบ และขี้เลื่อย มาเป็นองค์ประกอบในการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ โดยปัจจัยดังกล่าวได้แก่ สัดส่วนปริมาณของโมลาสในโพลีออล ชนิดและปริมาณของตัวเติมที่เหมาะสม จากการศึกษา พบว่าโมลาสและตัวเติมจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงในกับผลิตภัณฑ์ สัดส่วนองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับลักษณะใช้งาน บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับวัตถุที่มีน้ำหนักเบา คือสัดส่วนปริมาณของโมลาสในโพลีออล เท่ากับร้อยละ 20 และตัวเติมที่เหมาะสม คือ แกลบ หรือขี้เลื่อย ในปริมาณร้อยละ 9 และ บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับวัตถุที่มีน้ำหนักมาก คือ สัดส่วนปริมาณของโมลาสในโพลีออลเท่ากับร้อยละ 35 และตัวเติมที่เหมาะสม คือ แกลบ ในปริมาณร้อยละ 3.5

Share

COinS