Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Title (Main Language of ETD)
Development of recombinant human epidermal growth factor production in Nicotiana benthamiana
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การพัฒนาการผลิตรีคอมบิแนนท์อีพิเดอร์มอลโกรทแฟคเตอร์ของมนุษย์ในต้น Nicotiana benthamiana
Year (A.D.)
2020
Document Type
Thesis
First Advisor
Waranyoo Phoolcharoen
Faculty/College
Faculty of Pharmaceutical Sciences (คณะเภสัชศาสตร์)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Pharmaceutical Sciences and Technology
DOI
10.58837/CHULA.THE.2020.374
Abstract
Human epidermal growth factor (hEGF) is a short polypeptide that has gained clinical importance in the recent decade for wound healing. Currently, plant-based expression system is considered as an alternative viable platform for low-cost recombinant protein production. Hence, this study aims to produce hEGF in Nicotiana benthamiana plants via., transient expression using a geminiviral vector. The hEGF gene constructs were designed into six different constructs. The optimal expression was observed from the construct targeting the endoplasmic reticulum with C-terminal histidine tag at the yield level up to 15.695 ?g/g LFW or 0.499% TSP. The plant-produced hEGF was purified by using Nickel affinity chromatography and confirmed its identity by SDS-PAGE and Western blot probed with anti-hEGF antibody. Furthermore, the preliminary study of the protein purification efficiency was found that the high extraction volume allows better hEGF recovery and extraction buffer pH 4 could largely remove host cell proteins (HCP), especially RuBisCO. However, ammonium sulfate precipitation is inapplicable for removing HCP from plant-produced hEGF. Furthermore, the study showed that no cytotoxic effects have been found in HaCaT cells from the plant-produced hEGF which is equivalent to commercial hEGF in HaCaT cells. Hence, this study supports that the potential of plant expression system offers a simple and cost-effective approach for the industrial-scale production of recombinant hEGF.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
อีพิเดอร์มอลโกรทแฟคเตอร์ของมนุษย์ (hEGF) เป็นโพลิเปปไทด์สายสั้นที่ได้รับความสำคัญในการใช้ประโยชน์ทางคลินิกในช่วงทษวรรษที่ผ่านในด้านการสมานแผล ในปัจจุบันระบบการผลิตโปรตีนด้วยพืชเป็นระบบทางเลือกที่มีต้นทุนต่ำในการผลิตรีคอมบิแนนท์โปรตีน ดังนั้นในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาการผลิต hEGF ด้วยต้นยาสูบ Nicotiana benthamiana ด้วยวิธีการแสดงออกแบบชั่วคราวด้วยเจมมิไนไวรัลเวคเตอร์ โดยโครงสร้างของยีน hEGF ได้ออกแบบมาทั้งหมด 6 แบบ พบว่าการแสดงออกของโปรตีน hEGF ที่ดีที่สุดนั้นจากโปรตีนที่มีเป้าหมายที่เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม และมีตำแหน่งของหมู่ฮิสทิดีนฝั่งปลายซี โดยได้ผลผลิตโปรตีนถึง 15.695 ไมโครกรัมต่อกรัมน้ำหนักใบพืช หรือ 0.499% ของปริมาณโปรตีนทั้งหมด จากนั้นใช้ทำให้ hEGF จากพืชบริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟีแบบจำเพาะกับนิกเกิ้ลลิแกนด์และยืนยันเอกลักษณ์โปรตีนด้วยวิธี SDS-PAGE และ Western blot ที่จับด้วยแอนติบอดีที่จำเพาะต่อส่วน hEGF นอกจากนี้ผลจากการศึกษาเบื้องต้นในการเพิ่มประสิทธิภาพของการทำให้โปรตีนบริสุทธิ์ด้วยการสกัดวิธีต่างๆ พบว่าการสกัดโปรตีนด้วยบัฟเฟอร์ปริมาตรมากสามารถช่วยให้จับกับ hEGF จากสารสกัดได้ และสารละลายบัฟเฟอร์ที่ pH 4 สามารถกำจัดโปรตีนอื่นจากเซลล์พืชโดยเฉพาะโปรตีนรูบิสโก ออกจากสารสกัดได้ดีกว่า อย่างไรก็ตามการตกตะกอนโปรตีนด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตนั้นไม่เหมาะสมในการกำจัดโปรตีนอื่นจากเซลล์พืชออกจาก hEGF นอกจากนั้นการศึกษานี้ยังพบว่ารีคอมบิแนนท์โปรตีน hEGF ที่ผลิตจากพืชนั้นไม่ส่งผลความเป็นพิษต่อเซลล์ HaCaT ซึ่งมีผลเทียบเท่ากับผลการศึกษาจากโปรตีน hEGF ที่ผลิตเพื่อเชิงพาณิชย์ ดังนั้นในการศึกษานี้จึงเป็นการสนับสนุนว่าระบบการผลิตโปรตีนจากพืชนั้นเป็นระบบที่สามาถทำได้ง่าย และมีความคุ้มทุนในการผลิต hEGF ในการผลิตระดับอุตสาหกรรม
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Hanittinan, Oranicha, "Development of recombinant human epidermal growth factor production in Nicotiana benthamiana" (2020). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 288.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/288