Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การประยุกต์ของรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์/ยางธรรมชาติคอมพอสิตสำหรับการกำจัดปิโตรเลียมในทะเล

Year (A.D.)

2018

Document Type

Thesis

First Advisor

Sirilux Poompradub

Second Advisor

Patchanita Thamyongkit

Faculty/College

Graduate School (บัณฑิตวิทยาลัย)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Hazardous Substance and Environmental Management

DOI

10.58837/CHULA.THE.2018.276

Abstract

In this study, the natural rubber (NR) composite foam was prepared to enhance oil adsorption performance of NR foam. The reduced graphene oxide (rGO) was synthesized from graphite waste by oxidation and reduction processes. In the oxidation step, different oxidation conditions (thermal-sonication and stirring-sonication) were studied in order to achieve the highest interlayer spacing in graphite structure. Then, the reduction was carried out using L-ascorbic acid (L-AA) as a reducing agent. Furthermore, morphology and surface properties of the synthesized rGO were investigated. To prepare the NR composite foams, NR latex was mixed with various contents of rGO (0.25, 0.5, 1.0 and 1.5 parts by weight per hundred part of rubber: phr). The results showed that the amount of rGO affected the morphology and the oil adsorption capacity of NR composite foams. The optimum amount of rGO in the NR composites foam which exhibited the highest oil adsorption performance was 0.5 phr. The oil adsorption capacity of NG-0.5 for gasohol, kerosene, crude oil, diesel and fuel was 21.50, 19.31, 17.04, 16.53 and 10.09 g g-1, respectively. In addition, the effect of temperature and turbulence on the oil adsorption capacity of the NR composite foams was determined. Three kinetic models, i.e. pseudo-first-order, pseudo-second-order and Elovich equation, were examined. The pseudo-second-order presented the better fit with the experimental data. The Langmuir isotherm was an appropriated model to predict the oil adsorption behavior of the NR composite foams. Finally, reusability feature of the NR composite foams was also studied through fifteen oil adsorption-desorption cycles. The result showed that the NR composite foams could be reused in many times.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

ในงานวิจัยนี้ทำการเตรียมโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำมัน รีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์สังเคราะห์มากจากของเสียแกรไฟต์ด้วยกระบวนการออกซิเดชันและรีดักชัน ในกระบวนการออกซิเดชัน ทำการศึกษาการออกซิเดชันที่ภาวะแตกต่างกัน (การให้ความร้อนควบคู่กับอัลตราโซนิกส์และการปั่นกวนควบคู่กับอัลตราโซนิกส์) เพื่อให้ได้ระยะห่างระยะชั้นในโครงสร้างของแกรไฟต์สูงที่สุด หลังจากนั้นนำกรดแอลแอสคอร์บิก (L-ascorbic acid: L-AA) มาใช้เป็นตัวรีดิวซ์ นอกจากนี้ ได้ทำการศึกษาสมบัติทางสัณฐานวิทยาและสมบัติของพื้นผิวของรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ที่สังเคราะห์ได้ การเตรียมคอมโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติทำได้โดยการผสมน้ำยางธรรมชาติและรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ในสัดส่วนต่างกัน (0.25 0.5 1.0 และ 1.5 ส่วนในร้อยส่วนของยาง (phr)) ผลการศึกษาพบว่าปริมาณของรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์มีผลต่อลักษณะสัณฐานวิทยาและประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำมันของโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติ สัดส่วนที่เหมาะสมของรีดิวซ์แกรฟีนออกไซด์ในโฟมยางธรรมชาติคอมโพสิตซึ่งให้แสดงค่าการดูดซับน้ำมันที่มากที่สุด คือ 0.5 phr ความสามารถในการดูดซับน้ำมันของ NG-0.5 สำหรับน้ำมันแก๊สโซฮอล์ น้ำมันก๊าด น้ำมันดิบ น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตาเท่ากับ 21.50 9.31 17.04 16.53 และ 10.09 กรัมต่อกรัม ตามลำดับ นอกจากนี้ ได้ทำการศึกษาผลกระทบของอุณหภูมิและความปั่นป่วน (turbulence) ในการดูดซับน้ำมันของโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติแบบจำลองจลนศาสตร์ทั้งสาม ได้แก่ pseudo-first-order pseudo-second-order และ สมการ Elovich ถูกนำมาศึกษา โดยแบบจำลอง pseudo-second-order แสดงความสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แบบจำลอง Langmuir ไอโซเทอร์มเป็นแบบจำลองที่เหมาะสมในการทำนายพฤติกรรมการดูดซับน้ำมันของโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติ นอกจากนี้ ศึกษาถึงลักษณะการนำกลับมาใช้ใหม่โดยวัฏจักรการดูดซับและการคายการดูดซับจำนวน 15 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่าโฟมคอมพอสิตยางธรรมชาติสามารถนำกลับมาใช้ได้หลายครั้ง

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.