Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การศึกษาการหลุดของหัวแปรงฟองน้ำที่ผลิตใหม่ในประเทศไทย

Year (A.D.)

2018

Document Type

Thesis

First Advisor

Orapin Komin

Second Advisor

Atiphan Pimkhaokham

Faculty/College

Faculty of Dentistry (คณะทันตแพทยศาสตร์)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Geriatric Dentistry and Special Patients Care

DOI

10.58837/CHULA.THE.2018.268

Abstract

Objective. To perform an in vitro investigation on the dislodgement of sponge head of different manufactured sponge brushes (Sakura shape, Sunstar BUTLER, Japan, and 4 novel Thai-produced sponge brushes; combination of two shapes (round and Leelawadee) and two textures (soft and hard), King Dental Innovation Foundation; KDIF , Thailand. Methods. In order to evaluate the dislodgement of sponge head, strength test measurement was performed according to ISO 20126:2012(E). Five types of polyurethane foam were characterized using Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR). The density of the foam was evaluated as the weight of foam in the air per unit volume of a specimen. Specimens were weighed. The volume was analyzed by Micro-CT. Finally, the mean "Force (N)/Density (kg/m3)" data of each group was calculated and investigated. Results. The density of Thai-produced yellow foam, Thai-produced white foam and Japan-produced are as followings; 28.56, 16.17 and 48.53 kg m-3 respectively. The "Force/Density" value of each group were calculated. The comparative analysis revealed that the five types of sponge-foam have different densities. Sakura shape sponge head exhibited significantly more difficult to be dislodged, comparing to other four sponge heads. With the same density, round shape exhibited significantly more difficult to be dislodged, comparing to the Leelawadee shape. Conclusion. The yellow sponge head in the cross-section round shape had the most resistance to dislodgement, compared to four novel Thai-produced sponge brushes because of the higher density of foam results in the higher strength. By the way, fatigue resistance and handle impact test should be conducted for assessing the physical properties of handles. Biological hazards should be the greatest concern to assessing possible biological hazards.

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ เปรียบเทียบการหลุดของหัวแปรงฟองน้ำที่ผลิตจากแหล่งต่างๆ โดยกลุ่มควบคุมใช้แปรงฟองน้ำของบริษัทบัตเลอร์นำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น ส่วนกลุ่มทดลองเป็นแปรงฟองน้ำที่ผลิตขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย โดยฟองน้ำมีลักษณะ 2 แบบ คือ แบบเนื้อนุ่มและแบบเนื้อแน่น แต่ละแบบมี 2 รูปร่าง คือ หน้าตัดรูปกลมและหน้าตัดรูปดอกลีลาวดี สำหรับวิธีการทดลองเริ่มแรกให้ตรวจสอบชนิดของพอลิออลจากฟองน้ำทั้ง 3 แบบ ด้วยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี เมื่อผลการวิเคราะห์แสดงลักษณะโพลีออลเป็นชนิดโพลียูรีเทนทั้งหมด จึงหาความหนาแน่นของฟองน้ำแต่ละชนิดจากการแทนค่าสมการ คือมวลหารด้วยปริมาตร ซึ่งปริมาตรสามารถวิเคราะห์ได้จากเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ระดับไมโครเมตร ส่วนการเปรียบเทียบการหลุดของหัวแปรงฟองน้ำ (30 ตัวอย่างต่อกลุ่ม) สามารถวิเคราะห์ได้จากค่าแรงที่ใช้ดึงหลุดหารด้วยความหนาแน่นของฟองน้ำชนิดนั้น โดยค่าแรงที่ใช้ดึงหลุดมาจากการทดสอบการดึงหัวแปรงฟองน้ำด้วยเครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซลตามมาตรฐานสากล (ISO 20126:2012(E)) ผลการทดสอบพบว่าความหนาแน่นของฟองน้ำสีเหลืองที่ผลิตในประเทศไทย, ฟองน้ำสีขาวที่ผลิตในประเทศไทย และฟองน้ำที่ผลิตในประเทศญี่ปุ่น มีค่า 28.56, 16.17 และ 48.53 kg m-3 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบการดึงหัวแปรงฟองน้ำในกลุ่มที่ความหนาแน่นของฟองน้ำต่างกัน พบว่าหัวแปรงฟองน้ำของบริษัทบัตเลอร์ต้านทานการหลุดได้ดีที่สุดรองลงมาคือหัวแปรงฟองน้ำสีเหลือง และหัวแปรงฟองน้ำสีขาวตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบการดึงหัวแปรงฟองน้ำในกลุ่มที่มีความหนาแน่นของฟองน้ำเท่ากัน พบว่าหน้าตัดรูปร่างกลมต้านทานการหลุดได้ดีกว่าหน้าตัดรูปร่างดอกลีลาวดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการวิเคราะห์ทางการทดลองเหล่านี้สนับสนุนว่าหัวแปรงฟองน้ำที่ผลิตจากฟองน้ำที่มีความหนาแน่นสูงต่อต้านการดึงหลุดได้ดีกว่าหัวแปรงฟองน้ำที่ผลิตจากฟองน้ำที่มีความหนาแน่นต่ำกว่า เนื่องจากฟองน้ำที่มีความหนาแน่นสูงมีคุณสมบัติทางกายภาพที่ดีกว่าฟองน้ำที่มีความหนาแน่นต่ำ ดังนั้นสำหรับการผลิตแปรงฟองน้ำในประเทศไทย จากผลการทดลองจะเห็นว่าแปรงฟองน้ำหน้าตัดรูปกลมสีเหลืองต้านทานการดึงหลุดได้ดีที่สุด แต่อย่างไรก็ดีควรมีการทดสอบตามมาตรฐานสากลในหัวข้ออื่นๆเช่น การทดสอบความล้า และการทดสอบความสามารถในการรับแรงกระแทกของด้ามจับ นอกจากนั้นควรมีการทดสอบอันตรายทางชีวภาพอีกด้วย

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.