Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)
Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)
การศึกษาเชิงเปรียบเทียบของการฝ่าฝืนการจราจรระหว่างนักเรียนไทยและญี่ปุ่น?
Year (A.D.)
2020
Document Type
Thesis
First Advisor
Kasem Choocharukul
Second Advisor
Kunihiro Kishi
Faculty/College
Faculty of Engineering (คณะวิศวกรรมศาสตร์)
Department (if any)
Department of Civil Engineering (ภาควิชาวิศวกรรมโยธา)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's Degree
Degree Discipline
Civil Engineering
DOI
10.58837/CHULA.THE.2020.108
Abstract
During the last ten years. Accidents of vulnerable road users in Thailand have increased significantly and hit the most severe accident in 2017, especially teenagers between 15-19 year-old. When comparing to Japan in 2017, Japan has reached the lowest accident of all-time since 1960. Considering differences, there are differences in attitudes and behavior toward violation behavior. This study aims to analyze the factor affecting violation behavior between Thai and Japanese to determine the appropriate policies and recommendations. By studying road user's behavior and attitude based on the theory of planned behavior (TPB) in Bangkok, Thailand and Sapporo, Hokkaido, Japan. Questionnaires with road user violation behaviors were designed and developed for each country, and the surveys were conducted and distributed. The 201 samples in Japan and 477 samples in Thailand were collected, which have been valid responses. The validity and reliability of the questionnaire were evaluated. The data were analyzed by using the structural equation model (SEM). It was found that all of the models were significant. In Japan, the bicycle and the pedestrian model were used. Found that the most impactful factors of the bicycle model were notice failure and bicycle stun. Besides, for the pedestrian model were Instrumental attitude and conformity tendency. In Thailand, the motorcycle and the pedestrian model were used. The most impactful factors were traffic error and motorcycle stunt. For the pedestrian model were instrumental attitude, descriptive norm, and conformity tendency. It could be concluded that promoting the awareness of violation and accident by teaching the exact way to ride a motorcycle in detail and realize how they could decrease injuries and violations. However, in the community to prevent accidents, the community has to make the environment safe, build healthy communities and societies, give teenagers importance, and open up opportunities for adjustment. Lastly, the activities and promoting should emphasize parents and companions about the intention to violate the traffic rule. Moreover, cultivate consciousness in their own behavior.
Other Abstract (Other language abstract of ETD)
จากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อุบัติเหตุที่เกิดจากผู้ใช้ถนนที่เปราะบางในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างมากจนเป็นประเทศที่มีอุบัติเหตุมากที่สุดในปี 2017 โดยเฉพาะเด็กที่มีอายุอยู่ในช่วง 15-29 ปี เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศญี่ปุ่นในปี 2017 ญี่ปุ่นได้ประสบความสำเร็จในการลดอุบัติเหตุให้น้อยที่สุดตลอดกาลนับตั้งแต่ปี 1960 เมื่อพิจารณาถึงผลต่าง สิ่งที่แตกต่างกันอาจจะเป็นพฤติกรรมหรือทัศนคติที่ส่งผลไปยังพฤติกรรมการฝ่าฝืนกฏจราจร การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการฝ่าฝืนกฏจราจรระหว่างไทยและญี่ปุ่นเพื่อกำหนดนโยบายและข้อเสนอแนะที่เหมาะสม โดยศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติของผู้ใช้รถใช้ถนนตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (TPB) ในกรุงเทพฯประเทศไทยและซัปโปโรฮอกไกโดประเทศญี่ปุ่น แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการฝ่าฝืนกฏจราจรได้ถูกออกแบบและปรับปรุงเพื่อให้เหมาะกับแต่ละประเทศ และได้ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างได้ 201 ตัวอย่างในประเทศญี่ปุ่น และ 477 ตัวอย่างในประเทศไทย ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของแบบสอบถามได้ถูกทดสอบและนำไปวิเคราะห์แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้าง (SEM) พบว่าแบบจำลองทั้งหมดมีนัยสำคัญ ในประเทศญี่ปุ่นมีการใช้งานจักรยานและคนเดินเท้า พบถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุดคือความผิดพลาดในการสังเกตและพฤติกรรมเสี่ยง นอกจากนี้สำหรับคนเดินเท้าพบว่าการโน้มน้าวและทัศนคติส่งผลต่อพฤติกรรมเป็นหลัก ในประเทศไทยมีการใช้งานจักรยานยนต์และคนเดินเท้า พบถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุดคือความผิดผลาดในการจราจรและพฤติกรรมเสี่ยง สำหรับคนเดินเท้า พบถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบมากที่สุดคือทัศนคติ การทำตามกลุ่มอ้างอิง และการโน้มน้าว ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าการส่งเสริมให้ตระหนักถึงการฝ่าฝืนและอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นโดยสอนวิธีการขี่มอเตอร์ไซค์ที่ถูกต้องโดยละเอียด เพื่อให้เห็นและตระหนักว่าจะลดการบาดเจ็บและการฝ่าฝืนได้อย่างไร อย่างไรก็ตามในชุมชน เพื่อป้องกันอุบัติเหตุชุมชนจะต้องทำให้สภาพแวดล้อมปลอดภัย สร้างชุมชนและสังคมที่ดีต่อและให้ความสำคัญกับวัยรุ่นและเปิดโอกาสให้ปรับตัว ประการสุดท้ายกิจกรรมและการส่งเสริมควรเน้นย้ำผู้ปกครองและผู้ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับเจตนาที่จะฝ่าฝืนกฎจราจร นอกจากนี้ควรจะเป็นการปลูกจิตสำนึกในพฤติกรรมของผู้ใช้รถใช้ถนน
Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-No Derivative Works 4.0 International License.
Recommended Citation
Katanararoj, Napattharakorn, "A comparative study of road traffic violation between Thai and Japanese students" (2020). Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD). 151.
https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/151