Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Other Title (Parallel Title in Other Language of ETD)

การวิเคราะห์การไหลของวัสดุร่วมด้วยการประเมินวัฏจักรชีวิตในขั้นสุดท้ายของของเสียปนเปื้อนปรอทที่เกิดจากกิจกรรมปิโตรเลียม

Year (A.D.)

2018

Document Type

Thesis

First Advisor

Ampira Charoensaeng

Faculty/College

The Petroleum and Petrochemical College (วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี)

Degree Name

Master of Science

Degree Level

Master's Degree

Degree Discipline

Petrochemical Technology

DOI

10.58837/CHULA.THE.2018.392

Abstract

Now a day, the waste management generated by offshore petroleum operation (including drilling and production) located in the Gulf of Thailand seem to be a great challenge. Because of their unique characteristic in terms of hazardous properties, petroleum waste requires particular treatments to reduce potential impacts to the environment and human life. This study, the petroleum waste by their disposal code, and waste code was sorted. The Hg-contaminated petroleum waste flow starting from waste generation towards to final disposal was conducted by Material Flow Analysis (STAN, 2.6.601) and Life Cycle Assessment (SimaPro 8.3.0.0) was conducted as tools for evaluating the environmental impacts. The treatment of Hg-contaminated waste was studied by SimaPro LCA software (SimaPro 8.3.0.0) using ReCiPe mid-point (H) method. The human toxicity (kg 1,4-DB eq) and climate change (kg CO₂ eq) impacts were selected because of human toxic damage and global warming concerns. The functional unit was one kg of Hg-contaminated waste. The treatment option was divided into four methods including storage, fuel blending, recovery unlisted material, and landfill. The combined result showed that Hg-contaminated waste disposed of Hg recovery indicated the benefit contributed to human toxicity (-1,344,704 t 1,4-DB eq) but high negative impact on climate change (34,785 t CO₂ eq). The landfill option indicated the high human toxicity impact (5.647 t 1,4-DB eq).

Other Abstract (Other language abstract of ETD)

ในปัจจุบันการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานด้านปิโตรเลียมนอกชายฝั่ง (รวมถึงการขุดเจาะและการผลิตปิโตรเลียม) ที่ตั้งอยู่ในอ่าวไทยถือเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ เนื่องจากคุณสมบัติที่เฉพาะของของเสียในแง่ของคุณสมบัติที่เป็นอันตราย ดังนั้นของเสียปิโตรเลียมจึงต้องได้รับการบำบัดโดยวิธีเฉพาะเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและชีวิตมนุษย์ได้ ในการศึกษาครั้งนี้ของเสียจากกระบวนการปิโตรเลียมจะถูกเรียงตามรหัสขยะและรหัสการกำจัด เครื่องมือที่ใช้สำหรับการประเมินสิ่งแวดล้อมในการศึกษาคือการไหลของของเสียปิโตรเลียมที่ปนเปื้อนปรอท เริ่มตั้งแต่การก่อกำเนิดของของเสียไปจนถึงการกำจัดในขั้นตอนสุดท้ายซึ่งดำเนินการโดยการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ (สแตน 2.6.601) และการประเมินวัฏจักรชีวิต(8.3.0.0) ผลกระทบการรักษาของเสียที่ปนเปื้อนปรอทได้รับการศึกษาโดยซอฟต์แวร์ซิมาโปรโดยใช้วิธีการเรซิพี มิดพอยท์แบบเอช ความเป็นพิษของมนุษย์ (กิโลกรัมของ 1,4 ไดคลอโรเบนซีนสมมูล) และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (กิโลกรัมของคาร์บอนไดออกไซด์สมมูล) ถูกเลือกเป็นผลกระทบที่ศึกษาเนื่องจากความเป็นพิษต่อมนุษย์ที่และปัญหาโลกร้อน โดยมีหน่วยหน้าที่คือหนึ่งกิโลกรัมของของเสียปนเปื้อนปรอท สำหรับวิธีการในการกำจัดของเสียแบ่งออกเป็นสี่วิธี ได้แก่ การเก็บรักษา การทำเชื้อเพลิงผสม การนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วอื่นๆกลับคืนมาใหม่และการฝังกลบ จากผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าของเสียที่ปนเปื้อนปรอทที่กำจัดโดยการนำปรอทกลับคืนมาใหม่ให้ประโยชน์ที่เป็นพิษต่อมนุษย์ (-1,344,704 ตันของ 1,4 ไดคลอโรเบนซีนสมมูล) แต่ให้ผลกระทบเชิงลบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในปริมาณสูง (34,785 ตันของคาร์บอนไดออกไซด์สมมูล) สำหรับการฝังกลบระบุนั้นให้ค่าผลกระทบต่อความเป็นพิษของมนุษย์มากที่สุด (5.647 ตันของ 1,4 ไดคลอโรเบนซีนสมมูล)

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.