The Thai Journal of Veterinary Medicine
Abstract
After interviewing 300 pet keepers, two third of respondents are female whose household leaders hold Bachelor degree or above (33.8%) and overall family income is more then 50,000 bahts a month (26.8%). Most pet keepens keep pets as friends (33.5%), obtaining pets from acquaintants (44.1%), purchase (22.7%). Seventy pont two percent of those pet keepers perchase pets from Chatuchak Sunday Market. Ninety-one point seven percent of pets reared are dogs while 41.4% of them are mixed breeds. Before obtaining pets, most pet keepers have no knowledge of pet care (67.6%). In case of pets' illness and vaccination needs, 53.7% of pet keepers take their pets to the nearest Veterinary care provider regardless of their qualifications and differences among various categories of Veterinary care providers. Sixty-four point six percent of pet keepers obtain the knowledge of transmissable diseases from Veterinarians. Fifty point eight percent are satisfied with services. Ninety-two point six percent of pet keepers assume that their pets are taken care of by Veterinarians. Not only services mentioned above, pet keepers are interested in perchasing pet accessories but do not support the idea of Veterinarians selling pets (58.5%). No relationship between the owner's education and income, and the frequency of visiting. Veterinary clinic, the reason for choosing the clinic and the preferable pet breed are found(จากการสัมภาษณ์ผู้เลี้ยงสัตว์จำนวน 300 คน พบว่าผู้ตอบคำถาม 2 ใน 3 เป็นเพศหญิงซึ่งหัวหน้าครอบครัวมีการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 33.8) และมีรายได้ของครอบครัวมากกว่า 50,000 บาทต่อเดือน (ร้อยละ 26.8) ส่วนใหญ่เลี้ยงสัตว์ไว้เป็นเพื่อน (ร้อยละ 35.5) ที่มาของสัตว์เลี้ยงได้มาเพราะมีคนให้มาร้อยละ 44.1 ซื้อมาเลี้ยงร้อยละ 22.7 กลุ่มที่ซื้อมาเลี้ยงร้อยละ 70.2 ซื้อมาจากสวนจตุจักร สัตว์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นสุนัข (ร้อยละ 91.7) ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมเลี้ยงพันธุ์ผสม (ร้อยละ 41.4) ก่อนที่จะเลี้ยงสัตว์มักไม่ ศึกษาวิธีการดูแลสัตว์มาก่อน (ร้อยละ 67.6) เมื่อสัตว์เจ็บป่วยจะพามาสถานพยาบาลสัตว์ที่อยู่ใกล้บ้าน (ร้อยละ 53.7) และไม่คำนึงว่าใครเป็นผู้ให้บริการและมีความแตกต่างกับสถานพยาบาลอื่นอย่างไร ผู้เลี้ยงสัตว์พาสัตว์ไปสถานพยาบาลสัตว์ด้วยเหตุผลหลัก 2 ประการ คือ เมื่อสัตว์ป่วยหรือฉีดวัคซีน ผู้เลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 64.4 ได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อจากสัตวแพทย์ และมีความพอใจในบริการ (ร้อยละ 50.8) ผู้เลี้ยงสัตว์ที่นำสัตว์มาใช้บริการร้อยละ 92.6 คิดว่าสัตวแพทย์เป็นผู้ดูแลสัตว์ของตน นอกจากบริการดังกล่าว ข้างต้นแล้วเจ้าของสัตว์ส่วนใหญ่สนใจซื้ออุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์จากสถานพยาบาลสัตว์ (ร้อยละ 81.6) แต่ไม่เห็นด้วยกับการขายสัตว์เลี้ยงในสถานพยาบาลสัตว์ (ร้อยละ 58.5) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการศึกษาของเจ้าของสัตว์และรายได้ครอบครัวกับความถี่ของการใช้บริการสถานพยาบาลสัตว์ เหตุผล ในการเลือกใช้สถานพยาบาลและพันธุ์สัตว์ที่เลี้ยง พบว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ)
DOI
10.56808/2985-1130.1674
First Page
287
Last Page
296
Recommended Citation
Satrjeenpong, Phichate; Reodecha, Chatcharat; Sailasuta, Achariya; Tawatsin, Achara; Rungrattansunthorn, Natthapol; and Hothanasombut, Songwut
(1995)
"Attitudes towards veterinary services - A survey among Bangkok residents(ความคาดหวังการบริการทางสัตวแพทย์ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร),"
The Thai Journal of Veterinary Medicine: Vol. 25:
Iss.
4, Article 3.
DOI: https://doi.org/10.56808/2985-1130.1674
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/tjvm/vol25/iss4/3