The Thai Journal of Veterinary Medicine
Abstract
ในการเลี้ยงปศุสัตว์ เมื่อวัว-ควายอายุ 8 เดือนขึ้นไปโรคพยาธิใบไม้ในตับ (F. gigantica) เป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึง เพราะจะทำให้ป่วย ตาย หรือเกิดความเสียหายแก่ผลผลิตด้านอื่น ๆ เป็นอย่างมาก โรคนี้พบได้ในทุกจังหวัดของภาคอีสาน แต่ไม่ทุกพื้นที่ ขึ้นกับการมีอยู่ของหอย Lymmaea auricularia ซึ่งเป็นโฮสท์กึ่งกลางของพยาธิ์ ความชุกของโรค โดยเฉลี่ยคือ 15.7% ในวัวและ 25.4% ในควาย โดยผันแปรไปตามพื้นที่จาก 0-85% พื้นที่ที่ มีแอ่งน้ำใหญ่มักมีความชุกของโรคสูงและมีความเสียหายรุนแรง จากการศึกษาทางระบาดวิทยาของโรคนี้ในภาคอีสานพบว่าแบบลักษณะของโรคพยาธิใบไม้ในตับในประชากรสัตว์เป็นวัฏ จักรสัมพันธ์กับฤดูกาล ซึ่งนำไปสู่ข้อสรุปสำหรับการให้ยาถ่ายพยาธิ์เพื่อควบคุมโรค
DOI
10.56808/2985-1130.1490
First Page
9
Last Page
22
Recommended Citation
ศรีกิจการ, เลิศรัก; ผลภาค, มาณวิกา; Leidl, K.; Loehr, K. F.; and Hoerchner, F.
(1988)
"ระบาดวิทยาและแนวทางการควบคุมโรคพยาธิ์ใบไม้ในตับในภาคอีสาน,"
The Thai Journal of Veterinary Medicine: Vol. 18:
Iss.
1, Article 7.
DOI: https://doi.org/10.56808/2985-1130.1490
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/tjvm/vol18/iss1/7