The Thai Journal of Veterinary Medicine
Abstract
ทำการเก็บและย้ายฝากตัวอ่อนสุกร โดยวิธีทางศัลยกรรมในสุกรตัวให้และสุกรตัว ภายหลังกระตุ้นด้วยสารประกอบของฮอร์โมน PMSG/HCG ในอัตราส่วน 400/200 ไอ ยู ผลการศึกษาพบว่าสุกรจำนวน 6 ใน 7 ตัว (85.7%) ไม่แสดงอาการเป็นสัดที่ 42 วัน ของการตั้งท้อง และสุกรจำนวน 4 ใน 7 ตัว (57.1%) แสดงอาการตั้งท้องที่ 84 วัน และคลอดลูกสุกร ปกติจำนวนทั้งสิ้น 22 ตัว หรือคิด เป็นเปอร์เซนต์การรอดของตัวอ่อนในสุกรคลอดเท่ากับ 40% ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการ ย้ายฝากตัวอ่อนสุกรเป็นสิ่งที่พัฒนาขึ้นได้ภายในฟาร์มสุกร การนำเทคนิคนี้ไปใช้จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์สุกรและการป้องกันและการควบคุมโรคภายในฟาร์ม
DOI
10.56808/2985-1130.1469
First Page
227
Last Page
242
Recommended Citation
เตชะกำพุ, มงคล; ฮ้อเจริญ, อังสนา; รุจิทิฆัมพร, บุญญิตา; รัภอาริยะธรรม, นิภาภรณ์; จึงธนาเจริญเลิศ, ศิริพงษ์; and พวงศิลป์, วิเชียร
(1987)
"การศึกษาเบื้องต้นของการย้ายฝากตัวอ่อนสุกรในฟาร์ม,"
The Thai Journal of Veterinary Medicine: Vol. 17:
Iss.
3, Article 4.
DOI: https://doi.org/10.56808/2985-1130.1469
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/tjvm/vol17/iss3/4