•  
  •  
 

PASAA

Publication Date

1976-10-01

Abstract

To a certain extent, noun classifiers in Thai indicate some characteristics of nouns, i.e. roundness as in [luuk], length as in [sen], flat and wide as in [phen]. However, [?an], whose grammatical usage is exactly the same as any other noun classifier, does not have this quality. In some dialects, [?an] can be used with any inanimate nouns. It is hypothesized in this article that because [?an] has always been related very closely with nouns, i.e. functioning as a relative pronoun and a nominalizer, it came to be used as a noun classifier or a noun counter when there was such a need for this class of word in the language.

คำลักษณะนามเบนประเภทคำที่น่าสนไจมากในภาษาไทย เพราะ ไม่ใช่คำประเภทสากลดังเช่น คำนาม คำกริยา ซึ่งมีใช้อยู่ในทุกภาษา แต่คำลักษณะนามก็มีใช้อยู่ในหลายภาษา เช่น ภาษาจีน ภาษาญวน ภาษามาเลย์ ภาษาอินเดียนแดง ภาษาแอฟริกันบางเผ่า ฯลฯ ถ้าจะพิจารณาดูหน้าที่ของคำลักษณะนามแล้วจะเห็นว่าคำประเภทนี้ทำหน้าที่ “ส่วนเกิน” เพราะภาษาที่ไม่ใช่คำประเภทนี้ก็สามารถ สื่อความหมายได้ดีเท่า ๆ กัน ความแตก ต่างในการสื่อความหมาย ระหว่างภาษาที่ใช้คำลักษณะนามและภาษาที่ไม่ใช้คือ ภาษาประเภท หนึ่งให้ความสำคัญต่อคำลักษณะนาม ส่วนอีกประเภทหนึ่งไม่ให้ความ สำคัญแก่คำประเภทนี้เท่านั้นเอง ถ้าจะเปรียบกับพฤติกรรมอื่น ๆ ของ มนุษย์ก็อาจเท่ากับมนุษย์เผ่าหนึ่งสนใจแสดงความเป็นสาว หรือเป็น หม้าย โดยการแต้มสีลงบนหน้าผู้หญิง แต่อีกเผ่าหนึ่งไม่สนใจที่จะ แสดงลักษณะนี้ออกมา เมื่อเป็นคำประเภท "ส่วนเกิน" ก็คงไม่น่าสงสัยว่าต้องเป็นคำประเภทที่เกิดขึ้นภายหลังคำประเภทสากล หรือประเภท "จำเป็น" เช่น คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม ฯลฯ

DOI

10.58837/CHULA.PASAA.6.1.19

First Page

261

Last Page

266

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.