PASAA
Publication Date
1976-10-01
Abstract
To a certain extent, noun classifiers in Thai indicate some characteristics of nouns, i.e. roundness as in [luuk], length as in [sen], flat and wide as in [phen]. However, [?an], whose grammatical usage is exactly the same as any other noun classifier, does not have this quality. In some dialects, [?an] can be used with any inanimate nouns. It is hypothesized in this article that because [?an] has always been related very closely with nouns, i.e. functioning as a relative pronoun and a nominalizer, it came to be used as a noun classifier or a noun counter when there was such a need for this class of word in the language.
คำลักษณะนามเบนประเภทคำที่น่าสนไจมากในภาษาไทย เพราะ ไม่ใช่คำประเภทสากลดังเช่น คำนาม คำกริยา ซึ่งมีใช้อยู่ในทุกภาษา แต่คำลักษณะนามก็มีใช้อยู่ในหลายภาษา เช่น ภาษาจีน ภาษาญวน ภาษามาเลย์ ภาษาอินเดียนแดง ภาษาแอฟริกันบางเผ่า ฯลฯ ถ้าจะพิจารณาดูหน้าที่ของคำลักษณะนามแล้วจะเห็นว่าคำประเภทนี้ทำหน้าที่ “ส่วนเกิน” เพราะภาษาที่ไม่ใช่คำประเภทนี้ก็สามารถ สื่อความหมายได้ดีเท่า ๆ กัน ความแตก ต่างในการสื่อความหมาย ระหว่างภาษาที่ใช้คำลักษณะนามและภาษาที่ไม่ใช้คือ ภาษาประเภท หนึ่งให้ความสำคัญต่อคำลักษณะนาม ส่วนอีกประเภทหนึ่งไม่ให้ความ สำคัญแก่คำประเภทนี้เท่านั้นเอง ถ้าจะเปรียบกับพฤติกรรมอื่น ๆ ของ มนุษย์ก็อาจเท่ากับมนุษย์เผ่าหนึ่งสนใจแสดงความเป็นสาว หรือเป็น หม้าย โดยการแต้มสีลงบนหน้าผู้หญิง แต่อีกเผ่าหนึ่งไม่สนใจที่จะ แสดงลักษณะนี้ออกมา เมื่อเป็นคำประเภท "ส่วนเกิน" ก็คงไม่น่าสงสัยว่าต้องเป็นคำประเภทที่เกิดขึ้นภายหลังคำประเภทสากล หรือประเภท "จำเป็น" เช่น คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม ฯลฯ
DOI
10.58837/CHULA.PASAA.6.1.19
First Page
261
Last Page
266
Recommended Citation
ขนิษฐานันท์, วิไลวรรณ
(1976)
"คำสันนิษฐานว่าด้วยความเป็นมาของ "คำลักษณะนามอัน" (A Hypothesis on Noun Classifier /?an/),"
PASAA: Vol. 6:
Iss.
1, Article 21.
DOI: 10.58837/CHULA.PASAA.6.1.19
Available at:
https://digital.car.chula.ac.th/pasaa/vol6/iss1/21