•  
  •  
 

Journal of Nursing Research, Innovation, and Health

Publication Date

2019-09-01

Abstract

Purpose: To study the effects of empowerment program on late phase postoperative recovery among post lumbar spine surgery patients.Design: Quasi-experimental researchMethods: The participants were 46 patients aged 30-59 years old, under postoperative lumbar spine surgery were admitted into the Neurosurgery ward at Prasat Neurological Institute. Randomly selected and assigned into either experimental and control group comprised 23 patients in each group with matching technique for age, pain scale, and level of lumbar spine surgery. The research instruments consisted of the empowerment program base on the concept of Gibson, notebook with activity, and postoperative recovery profile for lumbar spine surgery patients. The reliability analysis was .83. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and t-test.Results: The mean score of late phase postoperative recovery in experimental group after receiving the empowerment program was significantly higher than the control group at the significance level of .05 Conclusion: The empowerment program enables the patients increase self-esteem for self-care ability and good self-management in performing activities for good postoperative recovery. (วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดระยะท้ายใน ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอวรูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองวิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว อายุ 30-59 ปี ที่พักรักษาตัว ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมประสาท สถาบันประสาทวิทยา จำนวน 46 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 23 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จับคู่กลุ่มตัวอย่างให้ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุระดับความ ปวดหลังผ่าตัด และจำนวนปล้องกระดูกสันหลังที่ทำผ่าตัด เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจที่ประยุกต์ใช้แนวคิดของ Gibson สมุดบันทึกการปฏิบัติตน และแบบประเมินการฟื้นสภาพ หลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัย: คะแนนเฉลี่ยการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดระยะท้ายของกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุป: โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รับรู้ถึงความสามารถ ในการดูแลตนเองและจัดการตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อฟื้นสภาพหลังผ่าตัดได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดที่ดี)

DOI

10.58837/CHULA.CUNS.31.3.5

First Page

47

Last Page

59

Included in

Nursing Commons

Share

COinS
 
 

To view the content in your browser, please download Adobe Reader or, alternately,
you may Download the file to your hard drive.

NOTE: The latest versions of Adobe Reader do not support viewing PDF files within Firefox on Mac OS and if you are using a modern (Intel) Mac, there is no official plugin for viewing PDF files within the browser window.